Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1240
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิรภา จำปาทอง-
dc.contributor.authorสิทธิภัทร พลายเพ็ชร-
dc.date.accessioned2022-08-19T02:24:50Z-
dc.date.available2022-08-19T02:24:50Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1240-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractพยานหลักฐานแวดล้อมมีความสําคัญมากในคดีอาญาที่ไม่มีพยานหลักฐานโดยตรงหรือมี พยานหลักฐานโดยตรงแต่มีน้ำหนักไม่มั่นคง ในปัจจุบันการกระทําผิดอาญามีความสลับซับซ้อน เป็นเหตุให้หาพยานหลักฐานโดยตรงได้ค่อนข้างยาก ยิ่งไปกว่านั้นการจะต้องพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับ เจตนาหรือมูลเหตุจูงใจของบุคคล ผู้พิพากษาก็ต้องวิเคราะห์และวินิจฉัยเอาจากพยานหลักฐาน แวดล้อมเท่านั้น ซึ่งเป็นสาเหตุสําคัญว่าเหตุใดพยานหลักฐานแวดล้อมจึงเข้ามามีบทบาทสําคัญใน คดีอาญา แต่อย่างไรก็ตาม ความเข้าใจในลักษณะของพยานหลักฐานแวดล้อมก็ยังไม่เป็นที่กระจ่าง นัก เนื่องจากยังไม่มีกฎหมายบัญญัติเกี่ยวกับพยานหลักฐานแวดล้อมไว้โดยเฉพาะ ซึ่งทําให้เกิด ความสับสนให้แก่นักกฎหมายอย่างมาก จากผลการวิจัย ผู้วิจัยเห็นว่า ควรมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายในเรื่องการใช้ดุลพินิจรับฟัง พยานหลักฐานแวดล้อม และควรมีกฎหมายในส่วนของการพิสูจน์ความน่าเชื่อถือของ พยานหลักฐานแวดล้อม โดยอาจบัญญัติเป็นตัวบทกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับแนวทาง ในการรับฟังและการชั่งน้ําหนักพยานหลักฐานแวดล้อมให้ชัดเจน สําหรับในส่วนของการแสวงหา พยานหลักฐานแวดล้อมในชั้นพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการ หลักเกณฑ์การรวบรวม พยานหลักฐานแวดล้อมในส่วนที่เป็นประโยชน์ของผู้ต้องหาควรต้องถูกแก้ไขด้วยเช่นกัน ส่วนใน ชั้นศาลประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 227 ควรถูกแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อเป็นแนวทาง ให้ศาลใช้ค้นหาความจริงก่อนที่จะยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จําเลย หากแก้ไขได้ดังที่กล่าวมา เช่นนี้ก็จะมีผลทําให้ระบบกระบวนการยุติธรรมของไทยมีประสิทธิภาพและมีความน่าเชื่อถือมาก ยิ่งขึ้นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectพยานหลักฐานen_US
dc.subjectความหมายของพยายหลักฐานen_US
dc.subjectพยานหลักฐานในคดีอาญา -- ไทยen_US
dc.titleการรับฟังพยานหลักฐานแวดล้อมในคดีอาญาen_US
dc.title.alternativeAdmissibility of circumstantial evidence in criminal casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractCircumstantial evidence became vital factor in criminal cases that have no direct evidences or in sufficient value direct evidence. Currently, the act of breaking Criminal Acts are complicated which caused difficulties in finding direct evidence. Moreover, when consider about intention or motive of suspected one, the Court has to infer from only circumstantial evidences. Those are main reasons showing why circumstantial evidences are important to the criminal cases. However, the concept of circumstantial evidences' attributions has not been clearly defined as there is no law indicated specific identification which causes confusions to lawyers. I would like to suggest that there should be amendment for law on procedure for admissibility of circumstantial evidences and the law for proof of the credibility of circumstantial evidence. They may be by enacting legal provisions on law of evidence to facilitate the admission and evaluation of circumstantial evidence.For the inquiry official and the public prosecutor, the procedure for the positive evidence for the defendant should be amended too. For the court, the Criminal Procedure Code section 227 should be amended by guidelinecourt before giving benefit of doubt to the defendant. If the mentioned amendment has been complied, the Justice Administration in Thailand will be more effective and create reliability.en_US
dc.description.degree-nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิติศาสตร์en_US
Appears in Collections:Law-Law-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SITTIPAT PLAYPETCH.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.