Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณเพ็ญ ฉายปรีชา-
dc.contributor.authorอณุรุจ วงศ์ทองสรรค์-
dc.date.accessioned2022-08-19T02:47:48Z-
dc.date.available2022-08-19T02:47:48Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1244-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractโครงการศึกษาอารมณ์และการแสดงออกของเด็กเร่ร่อนเพื่อการออกแบบแอนิเมชันแนว แฟนตาซีนั้น มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา บุคลิก ลักษณะนิสัย และการแสดงออกของเด็กเร่ร่อน เพื่อหาเอกลักษณ์ของเด็กเร่ร่อนแล้วนํามาประยุกต์สร้างสรรค์เป็นตัวละครในแอนิเมชันสามมิติ ให้ ตัวละครมีเอกลักษณ์เหมือนกับเด็กเร่ร่อน ไม่ว่าจะเป็นบุคลิก พฤติกรรมที่แสดงออกต่อเหตุการณ์ ต่างๆ รวมไปถึงลักษณะนิสัยที่เป็นผลมาจากอดีต ว่าจะสามารถทําให้ตัวละครแอนิเมชันสามมิตินั้น สื่อถึงเด็กเร่ร่อนในสังคมจริงได้หรือไม่ การศึกษาวิจัยดังกล่าวจึงได้ออกแบบเนื้อหาและเหตุการณ์ในงานแอนิเมชันให้สื่อถึงเด็ก เร่ร่อน โดยเนื้อเรื่องมีความเป็นแอนิเมชันแฟนตาซี เพื่อให้เกิดความสนุก ตื่นเต้นเร้าใจ และน่า ติดตาม มีตัวละครที่มีเอกลักษณ์ บุคลิกลักษณะเช่นเดียวกับเด็กเร่ร่อน ซึ่งเป็นตัวละครเอกในการ ดําเนินเรื่อง ผลวิจัยพบว่า งานแอนิเมชันแนวแฟนตาซีที่เน้นความสนุกสนานเหนือจริงนั้น สามารถ ใส่เอกลักษณ์ของตัวละครที่มาจากชีวิตจริงๆเข้าไปได้ และยังคงมีความโดดเด่นของความเป็นเด็ก เร่ร่อนที่อยู่ในตัวละครแอนิเมชันสามมิติได้อย่างลงตัวen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectเด็กเร่ร่อน -- ไทย -- มูลนิธิบ้านนกขมิ้น์en_US
dc.subjectแอนิเมชั่น -- การผลิตen_US
dc.titleการศึกษาอารมณ์และการแสดงออกของเด็กเร่ร่อนเพื่อออกแบบแอนิเมชันแนวแฟนตาซีen_US
dc.title.alternativeStudy the emotion and action of a tramp child for fantasy animation designen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe study is about the emotion and performance of a tramp child to create a 3D animation in the fantasy genre. The purpose is to study characteristics, personality and behavior of a tramp child in order to search for the identity of a tramp-child character which is used to create the main 3D animated character. The main character has the same personality of the tramp child, and also the behavior towards a situation, and the habit which has been influenced by the past. The study is to prove whether the 3D animated character can represent the real-life tramp child. This study creates a story and an animation situation about a tramp child in the fantasy genre. The story is told in a fun and exciting way. The main character has an outstanding personality of the tramp child. The result of the study is that the fantasy animation, focusing on fun and surreal scenes, is able to apply the real-life character into the animated 3D character and still contain the outstanding character of the tramp childen_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineคอมพิวเตอร์อาร์ตen_US
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anuruj Vongthongson.pdf6.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.