Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1278
Title: การออกแบบและพัฒนาระบบคัดแยกความรู้แบบกึ่งอัติโนมัติจากระบบเรียนรู้ร่วมกัน
Other Titles: A design and development of semi-automatic knowledge fil tering from collaborative learning system
Authors: เอกลักษณ์ โสภาพันธ์
metadata.dc.contributor.advisor: ชุติมา เบี้ยวไข่มุข
Keywords: เทคโนโลยีสารสนเทศ -- วิจัย;การออกแบบระบบ -- วิจัย;การพัฒนาระบบ -- วิจัย;ระบบคัดแยกกึ่งอัตโนมัติ -- วิจัย
Issue Date: 2565
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันที่สามารถคัดแยกองค์ความรู้และจัดเก็บแบบกึ่งอัตโนมัติ ชื่อว่าระบบ AKC 2) เพื่อเชื่อมโยง ระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเข้ากับเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟสบุค 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันจากกลุ่มผู้ใช้งานระบบที่หลากหลาย เช่น อาจารย์ นักศึกษา และ บุคคลทั่วไป จําแนกตามเพศและอายุ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จํานวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ผู้ใช้งานระบบ AKC โดยรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมาก เมื่อ พิจารณารายด้าน พบว่า ผู้ใช้ระบบมีความพึงพอใจด้านการออกแบบ ด้านการใช้งาน ด้านเสถียรภาพ ระบบ และด้านประโยชน์ของระบบอยู่ในระดับมาก 2) ผู้ใช้งานระบบ AKC ที่มีเพศและอายุที่ แตกต่างกัน มีความพึงพอใจไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05 ทั้งภาพรวมและ รายด้าน
metadata.dc.description.other-abstract: There are three objectives of this research: 1) to design and develop collaborative learning system that is able to semi-automatically filter useful contents and keep them as the knowledge 2) to connect the proposed system to Facebook and 3) to evaluate the satisfaction of several kinds of users such as teachers, students and experts. A set of survey questionnaire was developed to use as a tool to collect data from 42 users. The system has been developed using the famous open source program named SMF. The survey shows that the proposed system is satisfying in HIGH level for in every aspect: - the design, the adoption, the stability and the usefulness of the system. There is no significant (0.05) for factor of age and sex
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556
metadata.dc.description.degree-name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1278
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:ICT-ITM-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
AEGKALUK SOPAPUN.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.