Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1318
Title: ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล คุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของนายทหารประทวนสังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย
Other Titles: Relationships Between Personal Factors, Quality of Working Life and Organizational Commitment of Noncommissioned Officers in the Royal Thai Armed Force Headquarters
Authors: วินิจ จิตสวา
metadata.dc.contributor.advisor: ธีระ เตชะมณีสถิตย์
Keywords: ทหาร -- คุณภาพชีวิต -- วิจัย;ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
Issue Date: 2558
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล คุณภาพชีวิตการทางาน ความผูกพันต่อองค์การ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล คุณภาพชีวิตการทางาน กับความผูกพันต่อองค์การ รวมทั้งศึกษาตัวแปรที่สามารถทานายความผูกพันต่อองค์การจากคุณภาพชีวิตการทางานและปัจจัยส่วนบุคคล วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนายทหารประทวนสังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย จานวน 320 คน มีเครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม หาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับด้วย ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ซึ่งได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ .953 นาข้อมูลที่รวบรวมได้ไปประมวลผลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ สาหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Chi – Square, สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Pearson’s product moment correlation) และการถดถอยพหุคูณ (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า ระดับคุณภาพชีวิตการทางานและระดับความผูกพันต่อองค์การของนายทหารประทวนสังกัดกองบัญชาการกองทัพไทยอยู่ในระดับสูง (xˉ = 3.70, 3.73 ตามลาดับ) อายุ อายุราชการ และสังกัด ไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ คุณภาพชีวิตการทางานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อองค์การทุกด้าน (r = .748, p < .01) และคุณภาพชีวิตการทางาน อายุราชการ 6 – 10 ปี อายุ 46 – 50 ปี และอายุ 36 – 40 ปี ร่วมกันทานายความผูกพันต่อองค์การได้ร้อยละ 58.2
metadata.dc.description.other-abstract: The objectives of the research were to study the personal factors, quality of work life and organizational commitment and study relationships between personal factors, quality of work life, and organizational commitment. And to predict organizational commitment by quality of work life. This study was quantitative research. A survey was conducted in a population of the 320 noncommissioned officers in The Royal Thai Armed Force Headquarters. The tool was questionnaire with alpha of .953. Data and information collecting which analyzed by statistical program for social science. Statistical tools used was descriptive statistics such as frequency, percentage, means (xˉ ) and standard deviation (S.D.). Inferential statistics such as Chi – Square, Pearson’s product moment correlation and Stepwise multiple regression analysis. The result of study indicated that the quality of work life and the organizational commitment of noncommissioned officers in The Royal Thai Armed Force Headquarters was at the high level (xˉ = 3.70, 3.73 respectively). Age, tenure and department were not significantly related to organizational commitment. The quality of work life was positive significantly related to the organizational commitment at the .01 level (r = .748). And the quality of working life, 6 - 10 years of tenure, 46 – 50 years of age and 36 – 40 years of age could predict organizational commitment by 58.2%.
Description: ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558
metadata.dc.description.degree-name: รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: รัฐประศาสนศาสตร์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1318
metadata.dc.type: Other
Appears in Collections:PAI-PA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Winit Jitsawa.pdf9.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.