Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1370
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลลภา เฉลิมวงศาเวช-
dc.contributor.authorนา หยาง-
dc.date.accessioned2023-01-25T05:58:33Z-
dc.date.available2023-01-25T05:58:33Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1370-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะของครูสอนภาษาจีนตามความคิดเห็นของนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่ ก จังหวัดนนทบุรี และ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณลักษณะของครูสอนภาษาจีนตามความคิดเห็นของนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่ ก จังหวัดนนทบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ที่ได้รับการเรียนวิชาภาษาจีนในโรงเรียนขนาดใหญ่ ก จังหวัดนนทบุรี จานวน 114 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistic) สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA สถิติเชฟเฟ (Scheffe’s Method) การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า 1) คุณลักษณะของครูสอนภาษาจีนตามความคิดเห็นของนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่ ก จังหวัดนนทบุรีในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อคุณลักษณะของครูสอนภาษาจีนตามความคิดเห็นของนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่ ก จังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ และระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อคุณลักษณะของครูสอนภาษาจีนตามความคิดเห็นของนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่ ก จังหวัดนนทบุรีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยด้านมาตรฐานของครูสอนภาษาจีน ประกอบด้วยด้านการเรียนการสอนภาษาจีนขั้นพื้นฐาน ด้านวิธีการสอนภาษาจีน ด้านการจัดการเรียนการสอนและการจัดการชั้นเรียน ด้านวัฒนธรรมจีนแลละการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม และด้านจรรยาบรรณวิชาชีพและการพัฒนาวิชาชีพมีผลต่อคุณลักษณะของครูสอนภาษาจีนตามความคิดเห็นของนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่ ก จังหวัดนนทบุรีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีอำนาจพยากรณ์ร้อยละ 73.40 (R2 = 0.734)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน -- ไทย -- นนทบุรีen_US
dc.subjectครู -- คุณลักษณะที่พึงประสงค์en_US
dc.subjectคุณลักษณะของครูen_US
dc.titleคุณลักษณะของครูสอนภาษาจีนตามความคิดเห็นของนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่ ก จังหวัดนนทบุรีen_US
dc.title.alternativeThe Characteristics of teachers teaching Chinese based on the opinions of students of large school a in Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were to 1) explore the characteristics of Chinese language teachers based on the opinions of students at school A, a large-sized school located in Nonthaburi Province and 2) investigate factors affecting the characteristics of Chinese language teachers. This research employed quantitative methodology. The samples were 114 grade 4-6 students who studied Chinese at school A. Data were collected using a questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics, One-Way ANOVA, and Scheffe’s Method. The results revealed that 1) the overall characteristics of Chinese language teachers based on the opinions of students at school A were at a high level. 2) In terms of factors affecting their characteristics, personal factors including gender and educational level were found to affect their characteristics with a significance level of .05. In addition, standards of Chinese language teachers including basic Chinese language teaching, Chinese teaching methodology, instruction and classroom management, Chinese culture and cross-cultural communication, and professional ethics and professional development affected Chinese language teachers’ characteristics with a significance level of .05 and a predictive value of 73.40% (R2 = 0.734).en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการบริหารการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NA YANG.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.