Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1373
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลลภา เฉลิมวงศาเวช-
dc.contributor.authorเรณุกา สุวรรณรัตน์-
dc.date.accessioned2023-01-25T06:09:11Z-
dc.date.available2023-01-25T06:09:11Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1373-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู และความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเหนือผู้นำของ ผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัยครั้งนี้คือ ข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดใหญ่และขนาดใหญ่พิเศษ จำนวน 300 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบ แบ่งชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ การกระตุ้นให้บุคลากรตั้งเป้าหมาย ด้วยตนเอง รองลงมาคือการแสดงเป็นแบบฉบับให้บุคลากรเป็นผู้นำตนเอง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำ ที่สุดคือ การสร้างรูปแบบความคิดทางบวก 2) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ความก้าวหน้าในการทำงาน รองลงมาคือ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ สภาพแวดล้อมในการทำงาน 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารกับความพึง พอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูงมาก โดยด้านที่มีค่า ความสัมพันธ์ในเชิงบวกสูงที่สุดคือ ด้านการสร้างรูปแบบความคิดทางบวก รองลงมาคือ ด้านการ แสดงเป็นแบบฉบับให้บุคลากรเป็นผู้นำตนเอง และด้านที่มีค่าความสัมพันธ์เชิงบวกต่ำที่สุดคือ การ ทำให้บุคลากรเป็นผู้นำตนเอง และการสนับสนุนให้เกิดภาวะผู้นำตนเองโดยการสร้างทีมงานen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษาen_US
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษา -- สมุทรปราการen_US
dc.subjectครู -- ความพอใจในการทำงาน -- ไทย -- สมุทรปราการen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเหนือผ้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการ เขต 2en_US
dc.title.alternativeRelationship between school administrators superleadership and teachers job satisfaction under the supervision of Samut Prakan primary educutional service area office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to investigate school administrators superleadership, teachers job satisfaction, and their relationship. The samples were 300 teachers working at large-sized and medium-sized schools under the supervision of Samut Prakan Primary Educational Service Area Office 2, obtained through stratified random sampling. The instrument was a questionnaire. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, and correlation coefficient. The results revealed that: 1) School administrators superleadership was high. The highest mean was displayed by the encouragement of self-set goals, followed by the modeling of self-leadership, whereas the lowest mean was displayed by the development of positive thinking. 2) Teachers’ job satisfaction was high. The highest mean was displayed by career progression, followed by job descriptions, whereas the lowest mean was displayed by work environments. 3) The relationship between school administrators superleadership and teachers’ job satisfaction was very high. The highest positive correlation was displayed by the development of positive thinking, followed by the modeling of self-leadership, whereas the lowest positive correlation was displayed by the encouragement of self-leadership among personnel and the promotion of self-leadership through team building.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการบริหารการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RENUKA SUWANNARAT.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.