Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัฒน์ พิสิษฐเกษม-
dc.contributor.authorชเนตตี พุ่มพฤกษ์-
dc.date.accessioned2023-02-02T05:39:50Z-
dc.date.available2023-02-02T05:39:50Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1477-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (บธ.ด. (บริหารธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของอุตสาหกรรมไมซ์ ศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของกระบวนการจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมไมซ์ และการใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไมซ์ ศึกษาการพัฒนาการจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมไมซ์โดยอาศัยข้อมูลขนาดใหญ่ ศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีผลต่อการจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมไมซ์ และนำไปสู่การกำหนดแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนในอุตสาหกรรมไมซ์ในพื้นที่ตามแผนยุทธศาสตร์การค้ากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ภายใต้กระบวนการจัดการโซ่อุปทานโดยอาศัยข้อมูลขนาดใหญ่ ในครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงผสานวิธี (Mixed Method Research) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการลงพื้นที่ภาคสนามโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลการสัมภาษณ์ โดยเก็บข้อมูลกับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไมซ์พื้นที่ตามแผนยุทธศาสตร์การค้ากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 จำนวน 200 คน และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) ประกอบด้วยตัวแทนหน่วยงานระหว่างประเทศหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สมาคม ที่เกี่ยวข้องในการทำหน้าที่ส่งเสริมอุตสาหกรรมไมซ์ จำนวน 15 คน สาหรับผลการศึกษาได้ข้อค้นพบแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนในอุตสาหกรรมไมซ์ ในประเด็นสำคัญ ได้แก่ การเป็นศูนย์กลางนำร่องอุตสาหกรรมไมซ์สีเขียว การเป็นศูนย์การผลิตและบริการด้านอาหาร ผลิตภัณฑ์ปลอดภัยที่ได้รับมาตรฐานโลก รวมทั้งศูนย์แหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศ อารยธรรม และประวัติศาสตร์ทั้ง 4 ประเภทของอุตสาหกรรมไมซ์ อีกทั้งได้รับยุทธศาสตร์สำคัญ 3 ประการ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑ์ปลอดภัย อุตสาหกรรมไมซ์ พาณิชยกรรมและบริการมาตรฐานสากลที่สนับสนุนอุตสาหกรรมไมซ์โดยเน้นการใช้นวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศประวัติศาสตร์ และอารยธรรม กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 และยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและส่งเสริมการค้าชายแดนภายใต้กิจการและการลงทุนในอุตสาหกรรมไมซ์เพื่อให้เกิดการค้า การลงทุนทั้งในพื้นที่และระหว่างประเทศen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิต. สำนักหอสมุดen_US
dc.subjectการพัฒนาที่ยั่งยืนen_US
dc.subjectโซ่อุปทานen_US
dc.subjectข้อมูลขนาดใหญ่ -- การจัดการen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนในอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE) ในพื้นที่ ตามแผนยุทธศาสตร์การค้ากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ภายใต้กระบวนการจัดการโซ่อุปทาน โดยอาศัยข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)en_US
dc.title.alternativeGuidelines for sustainable development in the MICE Industry (MICE) in the planned areas trade strategy in the lower central provinces 1 under the Process of managing supply chains based on Big Dataen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis objectives of this research were to study the current situation of the MICE industry, to study the current situation of the processes of supply chain management in the MICE industry and the utilization of Big Data by the MICE industry operators, to study the development of supply chain management in the MICE industry based on Big Data leading to the formulation of sustainable development guidelines in the MICE industry in the area based on the strategic plan of trade in the lower central provinces 1 under the processes of managing supply chains based on Big Data. This research was conducted using mixed method and quantitative research method with a field study using a questionnaire as a tool for collecting the data through the interview with 200 MICE entrepreneurs in the area based on the strategic plan of trade in the lower central region 1 and via in-depth interview with 15 informants consisting of international agency representatives, government and private agencies and associations which promote the MICE industry. The results revealed that the guidelines of sustainable development in the MICE industry were discovered as follows: a pilot center for the green MICE industry; a food production and service center; safe products which meet world standards, eco-tourism center; and civilization and all 4 types of history of MICE industry. Moreover, the three significant strategies were discovered as follows: the 1st strategy referred to the development of safe products, MICE industry, international standard commerce and services supporting the MICE industry with an innovation; the 2nd strategy referred to the center for historical-based ecotourism and civilization of in the lower central provinces 1; and the 3rd strategy referred to the development and promotion of border trade under business and investment in the MICE industry to achieve both local and international trade and investmenten_US
dc.description.degree-nameบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineบริหารธุรกิจen_US
Appears in Collections:BA-BA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CHANATTEE POOMPURK.pdf22.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.