Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1487
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤษดา เกิดดี | - |
dc.contributor.author | ภัคคิณี บุญคูณ | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-02T06:59:55Z | - |
dc.date.available | 2023-02-02T06:59:55Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1487 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารการตลาดของตัวแทนจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในการนำภาพยนตร์ไทยไปเผยแพร่ที่สาธารณรัฐประชาชน รวมทั้งกรณีศึกษาภาพยนตร์ “ฉลาดเกมส์โกง” ซึ่งผู้วิจัยได้คัดเลือกบริษัทภาพยนตร์ไทยซึ่ง เป็นตัวแทนในการจัดจำหน่ายภาพยนตร์ ไทยในประเทศไทย 2 แห่งคือ คุณฤดี ผลทวีชัย ฝ่ายติดต่อต่างประเทศ บริษัท จีดีเอช 559 จำกัด และคุณพิทยา สิทธิอำนวยชัย บริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด โดยใช้แนวคิดหลักคือ แนวคิดการตลาดและการสื่อสารการตลาดและแนวคิดการตลาด ภาพยนตร์และการจัดจำหน่ายภาพยนตร์ ผลการศึกษา การสื่อสารการตลาดของตัวแทนจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยในการนำภาพยนตร์ไปเผยแพร่ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เสนอตามวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. กลยุทธ์การตลาดของตัวแทนจำหน่ายภาพยนตร์ไทยในสาธารณรัฐประชาชนจีน โอกาสภาพยนตร์ ไทยในสาธารณรัฐประชาชนจีนมีโอกาสที่น่าจะมีอัตราการเติบโตของตลาดภาพยนตร์ ที่ขยายเพิ่มขึ้นทุกปี และที่สำคัญคือกระแสความนิยมภาพยนตร์ไทย ละครไทย และดาราไทยเพิ่มมากขึ้น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนจากรายได้ การขายตั๋วภาพยนตร์ไทยเรื่องที่ทำรายได้ในสาธารณรัฐประชาชนจีนหลายเรื่อง อันเนื่องมาจากความต้องการรับชมภาพยนตร์ ที่สูงขึ้น 1) ด้านราคา 2) ช่องทางการจัดจำหน่าย 3) ผลิตภัณฑ์ 4) การส่งเสริมการขาย 2. กรณีศึกษา ภาพยนตร์ไทย “ฉลาดเกมส์โกง” จากผลการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์แนวคิดด้านการจัด จำหน่ายภาพยนตร์และการตลาดภาพยนตร์ พบรายละเอียดการเจรจาซื้อขายดังนี้ 1) ขั้นตอนก่อนการเลือกตัวแทนจำหน่ายในสาธารณรัฐประชาชนจีน 2) ช่องทางในการสื่อสารเพื่อการซื้อขาย 3) การตกลงเรื่องราคาในการซื้อขายภาพยนตร์ฉลาดเกมส์โกง 4) ขั้นตอนก่อนส่งตรวจสอบ กองเซ็นเซอร์ 5) ราคา 6) ช่องทางการจัดจำหน่าย 3. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการส่งออกภาพยนตร์ไทย ในสาธารณรัฐประชาชนจีนสาธารณรัฐ ประชาชนจีนมีความเข้มขวดเรื่องของสื่อที่ถูกเผยแพร่โดยเฉพาะสื่อที่บริโภคกันในวงกว้างอย่างภาพยนตร์ งานศิลปะ หรือเกมในจีน ต้องไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพนัน, ความรุนแรง, ฉากโป๊ เปลือย, การละเมิดลิขสิทธ์ิ, ไม่นำเสนอเกี่ยวกับความตาย เช่น กะโหลก, โครงกระดูก, เลือด, การส่งเสริมลัทธิ รวมถึงไม่มีเปิดเผยข้อมูลความลับของรัฐบาล ฯลฯ ซึ่งกฎระเบียบมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกปี รวมถึงระบบโควต้า โดยนโยบายการตรวจสอบ และระบบโควต้าที่กล่าวมานั้นถูกควบคุมโดยพรรคการเมืองในสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อปกป้ องความสงบของประเทศให้เป็ นไปตากฎระเบียบ ซึ่งด้านการเผยแพร่ภาพยนตร์ไทยในสาธารณรัฐประชาชนจีนนั้นมีอุปสรรคมากกว่าประเทศอื่นเนื่องจากต้องใช้เวลาในการตรวจสอบหลายเดือน และอาจไม่ได้รับการอนุญาติจากกองเซ็นเซอร์ในการเผยแพร่ออกสู่สาธารณชนจีนจึงเป็นประเทศที่มีความซับซ้อนยากมากในการเผยแพร่ของสื่อทุกชนิดมากที่สุดในโลก | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต. สำนักหอสมุด | en_US |
dc.subject | การสื่อสารการตลาด. | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์ไทย -- การตลาด | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์ไทย -- การจัดจำหน่าย | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมภาพยนตร์ -- ไทย | en_US |
dc.title | การสื่อสารการตลาดของตัวแทนจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยในการนำภาพยนตร์ไปเผยแพร่ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน | en_US |
dc.title.alternative | Marketing communication of Thai film distributors in the dissemination of Thai films in China | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purposes of this qualitative study are to investigate Thai film distributors’ marketing communication in the dissemination of Thai films in China as well as to examine the film “Bad Genius” as a case study. In this study, the data were mainly from two representatives from two Thai film distribution companies, i.e. Ms. Ruedee Phontaweechai from the International Business Section, GDH 559 CO., Ltd. and Mr. Phittaya Sittiaumnuaychai from Sahamongkol Film International Co. Ltd. The theories used in this study included marketing and marketing communication along with film marketing and distribution. The results of the study were as follows. 1. The growth of Thai film market in China increased every year. In addition, there was also an increase in the popularity of Thai films, dramas, actors and actresses as could be evidenced from the revenue and the number of tickets sold of many Thai films disseminated in China. These were resulted from a higher demand for movies and other factors including prices, distribution channels, products, and promotions. 2. In terms of the film “Bad Genius,” the results from the interviews revealed the details of the negotiations as follows: 1) the procedure prior to the selection of distributors in China, 2) the distribution channels, 3) the negotiated price and deal in trading this film, 4) the procedure prior to the film censorship, 5) prices, and 6) distribution channels. 3. In terms of the problems in the dissemination of Thai films in China, it was found that China regulated media strictly, especially the public media such as films, artworks, or games. These media must not contain contents related to gambling, violence, pornography, and copyright infringement. In addition, the media must not present the issues about death, cults, and the government’s confidential information. Although the regulations were amended every year, the censorship system was completely under control and supervision of the Chinese government in order to maintain the domestic peace and safety. Therefore, the dissemination of international films in China would take several months and may end up with the permission denial. So, it could be concluded that China could be deemed one of the strictest countries in the dissemination of international media | en_US |
dc.description.degree-name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | นิเทศศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | CA-CA-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PAKKINEE BOONKOON.pdf | 7.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.