Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1492
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPaijit Ingsiriwat-
dc.contributor.authorWatanya Saetan-
dc.date.accessioned2023-02-02T07:43:21Z-
dc.date.available2023-02-02T07:43:21Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1492-
dc.descriptionThesis (M.F.A. (Design)) -- Rangsit University, 2021en_US
dc.description.abstractThus, their logical thinking skills should be promoted so that they would be able to communicate effectively in the future. The authors have been inspired by toys designed by Bruno Munari, a toy designer who specialized in designing toys which could enhance a child’s personality and various skills. Therefore, the authors aimed to design a board game for young children. The main design of this board game is to connect the chips on the board to create a story. The chips are in a hexagon shape since it is the best among the three tested shapes. The hexagon shape allows the chips to be connected without leaving a blank space. On the chips, there are pictograms that guide the players to create a new story, express their thinking, and communicate by connecting the chips on the board. A variety of pictograms on the chips would require the players to plan and arrange the story sequence before playing to keep every chip in the same context. In conclusion, this research has developed a board game and a set of educational materials which help improve children’s logical thinking for better communicationen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherRangsit University Libraryen_US
dc.subjectThought and thinkingen_US
dc.subjectLogicen_US
dc.subjectCreative thinking in childrenen_US
dc.titleLogical thinking tools for better communication in young childrenen_US
dc.title.alternativeอุปกรณ์พัฒนาตรรกะ เหตุผล เพื่อการสื่อสารที่ดีขึ้นในเด็กวัยประถมปลายen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractการสื่อสารเป็นสิ่งหนึ่งที่จeเป็นในชีวิตประจeวัน เราสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน ทุกๆ การตอบสนองจะกลายเป็นกระบวนการคิดวิเคราะห์ ดังนั้นจึงนำไปสู่การคิดเชิงตรรกะเหตุผล เนื่องจากสมองซีกซ้ายมีความสามารถในการควบคุมการสื่อสารและเลือกคำที่เหมาะสมเด็กวัย 9-11 ปี เป็นวัยแห่งการอยากรู้อยากลอง วัยแห่งการตั้งคำถามกับทุกสิ่งรอบตัว จึงเหมาะมากที่จะพัฒนา ทักษะด้านตรรกะและเหตุผลซึ่งจะส่งผลไปถึงการสื่อสารที่ดีขึ้นในอนาคต ศึกษาอุปกรณ์หรือเกม ที่ ถูกผลิตเพื่อฝึกทักษะสาหรับเด็กซึ่งออกแบบโดย บรูโน มูนารี ผู้เป็นนักออกแบบที่เชี่ยวชาญในการ ออกแบบของเล่นเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพและทักษะต่างๆ ของเด็กในหลายช่วงวัย จากนั้นสนใจที่จะ ออกแบบเกมกระดาน เพื่อพัฒนะทักษะด้านตรรกะสาหรับเด็กวัยประถมปลายโดยองค์ประกอบ หลักสำหรับเกมนี้จะประกอบด้วยชิป ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อกันและนำลงไปวางบนกระดาน ลักษณะ ของชิปทำมาจากรูปทรง 6 เหลี่ยม เป็นทรงที่ดีที่สุดจากทั้งหมด 3 รูปทรงที่ผ่านการทดสอบ เพราะ ชิปทั้ง 6 ด้าน สามารถเชื่อมต่อกันได้ทุกมุมโดยไม่มีพื้นที่ว่างเหลืออยู่ โดยลักษณะของชิปด้านหน้า จะประกอบด้วยภาพกราฟิก เพื่อเป็นแนวทางให้กับผู้เล่นในการหยิบชิปเหล่านี้และนำมาเรียงต่อกัน บนกระดานเพื่อสร้างภาพ หรือเรื่องราวต่างๆ ให้มีสอดคล้องและมีความเชื่อมโยงผ่านภาพกราฟิก ที่ มีความหลากหลาย ทำให้ผู้เล่นต้องรู้จักการวางแผนจัดการและจัดลำดับก่อนหลัง เพราะในทุกครั้งที่ ชิปแต่ละตัวต่อกัน ควรสื่อความหมายและสร้างเรื่องราวที่สอดคล้องและอยู่ในบริบทเดียวกัน ดังนั้น การออกแบบเกมกระดานชุดนี้ สามารถเป็นทั้งเกมและสื่อการสอนชนิดหนึ่ง เพื่อใช้ในการเรียนรู้ และพัฒนาการคิดเชิงตรรกะ เพื่อการสื่อสารที่ดีขึ้นในเด็กประถมปลายen_US
dc.description.degree-nameMaster of Fine Artsen_US
dc.description.degree-levelMaster's Degreeen_US
dc.contributor.degree-disciplineDesignen_US
Appears in Collections:Art-AD-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WATANYA SAETAN.pdf15.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.