Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1505
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อวิรุทธ์ เจริญทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | ทัศนัยย์ เอื้อเฟื้อ | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-27T02:00:11Z | - |
dc.date.available | 2023-02-27T02:00:11Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1505 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันสื่อแอนิเมชันสองมิติ นับเป็นหนึ่งในสื่อที่สามารถเข้าถึงกลุ่มบุคคลได้อย่างหลากหลาย ทั้งยังมีความยืดหยุ่นในการใส่เอกลักษณ์เฉพาะตัวของผู้สร้างสรรค์ผลงานเข้าไป เพื่อทำให้เกิดความน่าสนใจ โดยเอกลักษณ์ของงานแอนิเมชันสองมิตินั้น จะถูกส่งออกมา ผ่านการเลือกใช้ลายเส้นที่แตกต่างกันไปของผู้สร้างสรรค์แต่ละคน และเพื่อการเคลื่อนไหวที่ลื่นไหล ผู้สร้างแอนิเมชันสองมิติมักจะมุ่งเน้นไปที่การวาดภาพลายเส้นด้วยมือ แต่ในปัจจุบัน มีหลากหลายวิธีในการประยุกต์เทคนิค วิธีการ และรูปแบบใหม่ ๆ ในการสร้างสรรค์ผลงานแอนิเมชันสองมิติ เพื่อให้ตัวแอนิเมชันเกิดความน่าสนใจ และเข้ากันได้กับเนื้อหาของเรื่องราวที่ผู้สร้างสรรค์ต้องการจะสื่อ โดยผู้วิจัยได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์ศิลปะแนวพิกเซลอาร์ต ซึ่งเป็นเทคนิคการทาภาพกราฟิก สำหรับใช้บนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในยุคแรกเริ่ม ของการสร้างวิดีโอเกมในอดีต ซึ่งวิดีโอเกมในอดีตนั้น มีหลายเกมที่กลายเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในกลุ่มคนทั่วไป ผู้วิจัยจึงได้นำเทคนิคการทากราฟิกนี้ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างแอนิเมชันสองมิติ ที่มีหัวข้อเป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวผ่านวิดีโอเกม เพื่อให้เกิดแอนิเมชันสองมิติที่มีความโดดเด่นและน่าสนใจ การศึกษาดังกล่าวสรุปได้ว่าการใช้เทคนิคพิกเซลอาร์ต สามารถนามาประยุกต์ใช้สร้างงานแอนิเมชันสองมิติ ให้มีความแตกต่าง และสามารถทำให้ ผู้ชมที่เคยได้สัมผัส หรือเคยเห็นวิดีโอเกม ที่ทาขึ้นในรูปแบบพิกเซลอาร์ตมาก่อน มีความรู้สึกร่วมในการรับชมมากยิ่งขึ้น | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาพเคลื่อนไหวแอนนิเมชัน | en_US |
dc.subject | สื่อ -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | เกมวิดีโอ | en_US |
dc.subject | ความสัมพันธ์ในครอบครัว | en_US |
dc.title | การออกแบบสื่อแอนิเมชันสองมิติในรูปแบบพิกเซลอาร์ตเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวผ่านวีดีโอเกม | en_US |
dc.title.alternative | A 2D animation design in pixel art style to promote family relationships through video games | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | At present, two-dimensional animation is a type of media that can reach variety of target audiences. Such media is flexible for the creator to insert his or her own unique style to make it interesting. The distinctiveness of a two-dimensional animation is shown through the different styles of each individual creator; moreover, the creator of two-dimensional animation focuses on using hand-drawn art for smooth animated movement. Nevertheless, currently, there are numerous new practical techniques, practices, and methods for creating two-dimensional animation to be fascinating and suitable for the content of the story the creator desires to convey. The researcher studies and analyses pixel art which is a technique for making graphic picture used as electronic media in video game development in the past. Many of the earlier video games were widely known to the public; therefore, the researcher decides to use the aforementioned technique to create two-dimensional animation under the topic of strengthening family relationship through a video game. To create unique and interesting two-dimensional animation, this study concludes that the pixel art technique can be used in creating unique two-dimensional animation and giving the audiences playing or watching a video game in pixel art form before an additional sentimental feeling while watching it. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | คอมพิวเตอร์อาร์ต | en_US |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TASANAI AUEAFUEA.pdf | 7.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.