Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1507
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อวิรุทธ์ เจริญทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | อริชัย รัตรสาร | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-27T02:05:57Z | - |
dc.date.available | 2023-02-27T02:05:57Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1507 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการออกแบบสื่อภาพยนตร์แอนิเมชัน สอง มิติ และศึกษาเรื่องของวัฒนธรรมการทำงานหนัก มีกลุ่มเป้าหมายอายุตั้งแต่20-35ปี ในปัจจุบันการทำงานหนักเป็นปัญหาที่คนวัยทำงานต้องประสบมากขึ้นโดยเฉพาะในฝั่งของประเทศแถบเอเซียที่มีแนวคิดว่าต้องขยันต่อสู้ ดิ้นรน เป็นแนวคิดหลักที่สืบทอดกันมาอย่างช้านาน ทำให้คนเอเซียในอดีตทุ่มเทชีวิตให้กับการทำงานเป็นอย่างมาก ทุ่มเทถึงขนาดเอาชีวิตของตนเข้าแลกเพื่อผลงานที่สำเร็จ การทำงานหนักมองได้อีกมุมก็คือการทำงานที่ไม่มีประสิทธิภาพและทำร้ายตัวเอง ทั้งนี้การทำงานหนักไม่ใช่เรื่องที่ไม่ดี เพราะคนที่ทำงานหนักย่อมได้รับประสบการณ์และความสามารถที่เพิ่มพูน จนก้าวถึงความเป็นมืออาชีพในงานนั้น การทำงานหนักเป็นหนทางสู่ความเป็นมืออาชีพ แต่การทำงานหนักจนเกินไปสามารถก่อให้เกิดผลเสียต่อชีวิตในด้านอื่นได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาสุขภาพ ปัญหาความสัมพันธ์ ปัญหาด้านอารมณ์ความรู้สึก ซึ่งบางครั้งผลที่ได้ตอบแทนกลับมาก็อาจทำให้ชีวิตส่วนที่เหลือนอกจากงานแทบพังพินาศ งานดีแต่ชีวิตพังมันคุ้มแล้วหรือที่จะแลกมันมา เป็นคำถามที่เด็กรุ่นใหม่กำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ ผลงานชิ้นนี้เป็นการออกแบบสื่อภาพยนตร์แอนิเมชันสะท้อนสังคมวัฒนธรรมการทำงานหนัก โดยการนำเสนอผลงานในรูปแบบการเสียดสี ถ่ายทอดผ่านเรื่องราวกึ่งแฟนตาซีที่เหนือจริง เพื่อให้ผลงานมีความแปลกใหม่ น่าสนใจ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มเป้าหมายที่ได้รับชมเข้าใจเนื้อหาและมีความพึงพอใจต่อด้านเทคนิคและเนื้อหาในการรับชมอยู่ในเกณฑ์ดี | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | วัฒนธรรมองค์กร | en_US |
dc.subject | ภาพเคลื่อนไหวแอนนิเมชัน | en_US |
dc.subject | การทำงาน | en_US |
dc.title | การศึกษาและผลิตสื่อเคลื่อนไหว 2 มิติ เรื่อง วัฒนธรรมองค์กรที่เป็นพิษ | en_US |
dc.title.alternative | Two-dimensional animation design to toxic organization culture | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This objectives of the study were to study the design of 2D animation movie media and to study the overwork behavior in organization focused on workers aged 20-35 years old. Nowadays, overwork is a major problem that many employees facing, especially in Asia in which the idea, “working hard to survive” was believed. this main concept has been passed down for many generations, causing employees to devote their lives and efforts in order to achieve the successful work. On the other hand, overwork means lack of potential and unhealthiness. However, overwork is not a bad thing because people who work hard could get more experiences and increased their capability which made themselves became professional in their jobs. Overwork can lead to professionalism and more income, but working too hard may ruined their lives, including health, relationship, and unstable emotion. “Good job but broken life. Is it worth exchanging it?” is the question that young generations are facing now. This 2D animation project aims to show the reflection of overwork culture in satire style through a surreal semi-fantasy story, which is more interesting and exotic. The result of the research showed that the target audiences were able to understand the contents along with being satisfied with artistic technique and context of the contents at a good level | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | คอมพิวเตอร์อาร์ต | en_US |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ARICHAI RATARASAN.pdf | 11.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.