Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1508
Title: การออกแบบสื่อแอนิเมชัน 3 มิติเพื่อจำลองเครื่องทดสอบใบขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคล
Other Titles: 3D animation movie design to simulate a personal car driving license tester
Authors: ปาริตร ธนรัช
metadata.dc.contributor.advisor: พรรณเพ็ญ ฉายปรีชา
Keywords: การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์;ภาพยนตร์สามมิติ;การขับรถยนต์ -- การสอบ;สื่อ -- การออกแบบ -- วิจัย
Issue Date: 2564
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่พบเจอในการสอบใบขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคลโดยรวมการทดสอบใบขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเข้าไว้ด้วยกันและใช้สื่อแอนิเมชัน 3 มิติในการจาลองรูปแบบระบบการทดสอบใบขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคล ในการศึกษาครั้งนี้ดาเนินการโดยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องจาลองการทดสอบใบขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคล การใช้โปรแกรมออกแบบกราฟิก 3 มิติ การออกแบบสื่อแอนิเมชันเพื่อจำลองเครื่องทดสอบใบขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเพื่อเป็นต้นแบบ และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้แทนภาครัฐและประชาชนทั่วไปที่ใช้บริการ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเข้าใจในการใช้เครื่องจำลองการทดสอบใบขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคลมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.35 รองลงมา คือ การนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงมีค่าเฉลี่ย 4.28 และความน่าสนใจของรูปแบบเครื่องจำลองการทดสอบใบขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคลมีค่าเฉลี่ย 4.03 ซึ่งทั้งหมดอยู่ในระดับดี นอกจากนี้แล้วการศึกษายังพบว่า ไม่เพียงแต่ผู้แทนภาครัฐและประชาชนทั่วไปที่ใช้บริการมีความรู้ความเข้าใจการใช้ระบบได้เป็นอย่างดีเท่านั้น รูปแบบของเครื่องจำลองยังมีความสะดวกในการใช้งานและสามารถนำไปใช้ต่อยอดเพื่อประโยชน์แก่สังคมได้จริงอีกด้วย
metadata.dc.description.other-abstract: The objective of this research is to solve the problems encountered during the personal car driving license test by combining the theoretical and practical parts of the test and using 3D animation media to simulate the model of the license test system. The study was conducted by reviewing the literature related to personal car driving license test simulators, the use of 3D graphic design program, and the animation design for simulating a personal car driving license tester as a prototype. The data were collected from government representatives and the public who use the services by using questionnaires. The results showed that the sample had the best understanding of using a personal car driving license test simulator with an average of 4.35, followed by an average of 4.28 for practical use and an average of 4.03 for the model of driving license test simulator. All aspects were at a good level. Furthermore, the study indicated that government representatives and the public using the services not only had a good understanding of how to use the system, but the model of the simulator is also convenient to use and could be used for the benefit of society.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564
metadata.dc.description.degree-name: ศิลปมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: คอมพิวเตอร์อาร์ต
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1508
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PARIT THANARACH.pdf7.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.