Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณเพ็ญ ฉายปรีชา-
dc.contributor.authorพิทวัส แสงธรรม-
dc.date.accessioned2023-02-27T02:27:14Z-
dc.date.available2023-02-27T02:27:14Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1514-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องการออกแบบและสร้างสรรค์โฆษณาเกมจากวรรณคดีไทย เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์วรรณคดีไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการออกแบบแอนิเมชั่น 3 มิติ และส่งเสริมการอนุรักษ์วรรณคดีไทย โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเยาวชน และผู้คนยุคใหม่ จำนวน 30 คน โดยเลือกใช้แอนิเมชันซึ่งเป็นสื่อใหม่ที่มีความเข้าใจง่าย เหมาะกับคนทุกช่วงวัย โดยมีความยาวประมาณ 4 นาที โดยเนื้อเรื่องของแอนิเมชันจะนำวรรณคดีไทยมาตีความใหม่ โดยเล่าเรื่องจุดกำเนิดของโลกแห่งวรรณคดี ที่ถูกหลอมรวมกันเป็นหนึ่งเดียวโดยพ่อมดผู้ชั่วร้าย ในขณะที่โลกเกิดความวุ่นวาย มีผู้คนที่ใช้ประโยชน์ความวุ่นวายนี้ในการสนองผลประโยชน์ส่วนตน โดยขั้นตอนการศึกษาเริ่มจากการศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวรรณคดีไทย รวมไปถึงการผลิตแอนิเมชัน และทฤษฏีการผลิตสื่อในด้านต่าง ๆ แล้วจึงนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบสื่อแอนิเมชั่นและเก็บแบบสอบถาม แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการออกแบบและสร้างสรรค์โฆษณาเกมจากวรรณคดีไทย เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์วรรณคดีไทย พบว่าคะแนนด้านเนื้อหา เทคนิค และประโยชน์อยู่ในเกณฑ์ที่ดีen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโฆษณา -- การผลิต -- การออกแบบและการสร้างen_US
dc.subjectเกม -- การออกแบบ -- วิจัยen_US
dc.subjectภาพเคลื่อนไหวแอนนิเมชันen_US
dc.titleการออกแบบ และสร้างสรรค์โฆษณาเกมจากวรรณคดีไทย เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์วรรณคดีไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe study aims to investigate a 3D animation design to promote Thai literature conservation. The target group included thirty teenagers. In this study, the instrument used was a four-minute animation which was easy to understand and suitable for people of all ages. This animation reinterpreted Thai literature and narrated the story of the emergence of literature through the story of an evil wizard and the chaos world where people cared only their own benefits. In order to create the animation, data related to Thai literature, the production of animation, and media theories were collected. In addition, questionnaires were used to collect data on viewers’ perspectives towards the created 3D animation. The results from the questionnaires revealed that the scores for the content, production techniques, and benefits of the animation were in a good levelen_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineคอมพิวเตอร์อาร์ตen_US
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PITTAWAT SANGTHAM.pdf4.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.