Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปณิธิ เนตินันทน์-
dc.contributor.authorอรรถพล อมาตยกุล-
dc.date.accessioned2023-02-27T03:49:32Z-
dc.date.available2023-02-27T03:49:32Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1522-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง เป็นตัวอย่างของการเชื่อมโยงรูปแบบใหม่ระหว่างอินเทอร์เน็ต และวัตถุทางกายภาพในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น ระบบอัตโนมัติภายในบ้าน กระบวนการทาง อุตสาหกรรม ระบบสุขภาพของมนุษย์ และการเฝ้าระวังทางด้านสิ่งแวดล้อม โดยอินเทอร์เน็ตของ สรรพสิ่ง เข้ามายกระดับความสำคัญให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน ของเรา ซึ่งมีทั้งคุณประโยชน์ด้านการอำนวยความสะดวก และข้อกังมากมายเกี่ยวกับด้านความ ปลอดภัยในการใช้งาน เป็นเวลาหลายทศวรรษแล้วที่ระบบตรวจจับผู้บุกรุกภายในบ้านเป็นส่วน สำคัญของระบบรักษาความปลอดภัยภายในบ้าน อย่างไรก็ตามเทคนิคการตรวจจับการเคลื่อนไหว ของผู้บุกรุกเป็นเรื่องยาก เนื่องจากคุณลักษณะเฉพาะของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งเช่น อุปกรณ์ที่มี ข้อจำกัดด้านทรัพยากร ราคาที่สูง เป็นต้น โดยในการศึกษานี้ผู้วิจัยได้นำเสนอต้นแบบสำหรับระบบ ตรวจจับผู้บุกภายบ้านโดยใช้อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง มีวัตถุประสงค์ในการทดสอบหาระยะการ ตรวจจับความเคลื่อนไหว ตลอดจนระยะที่เหมาะสมที่สามารถตรวจจับความเคลื่อนไหวได้ นอกจากนี้ ยังมีการตรวจสอบคุณสมบัติต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงลักษณะการทำงานของเครื่องตรวจจับ ความเคลื่อนไหวอินฟราเรดแบบพาสซีฟ รายละเอียดของการทำงานของเครื่องตรวจจับความ เคลื่อนไหวอินฟราเรดแบบพาสซีฟว่ามีพื้นที่ครอบคลุมการตรวจจับการเคลื่อนไหวของผู้บุกรุก ในบ้านเพียงใด การประเมินเบื้องต้นของระบบตรวจจับความเคลื่อนไหวอินฟราเรดแบบพาสซีฟ ได้ดาเนินการเพื่อประเมินการตรวจจับการทำงาน ระบบสามารถทำงานการตรวจจับการเคลื่อนไหว รายวันโดยอัตโนมัติ ให้การตรวจจับผู้บุกรุกในระยะทางและมุมของสถานการณ์ที่หลากหลายและ ตำแหน่งที่ทำการติดตั้งระบบเฝ้าระวังen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectอุปกรณ์ตรวจจับความเคลื่อนไหวen_US
dc.subjectรังสีอินฟราเรด -- ผลกระทบจากอุณหภูมิen_US
dc.subjectสัญญาณเตือนภัยen_US
dc.titleระบบแจ้งเตือนผู้บุกรุกด้วยอุปกรณ์ตรวจจับความเคลื่อนไหวอินฟราเรดแบบพาสซีฟ บนพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งen_US
dc.title.alternativeAlert intruder detection system using passive infrared motion detector based on internet of thingsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe Internet of Things (IoT) is a new paradigm that connects the Internet and physical objects across a range of industries, including home automation, industrial processes, human health, and environmental monitoring. It raises the significance of Internet-connected devices in our daily lives, bringing a flood of benefits and concerns about security. For decades, home intruder detection systems have been an integral part of home security systems. However, implementing intruder motion detection techniques is difficult due to the IoT's unique characteristics, such as resource constrained devices. In this study, we offer a prototype for an Internet of Things-based home intruder detection system. Our objective is to discover areas for development and practice, as well as research opportunities and concerns. Additionally, we examined several choices for each attribute, including aspects of passive infrared motion detector works that suggest unique methods for home invader motion detectors on the Internet of Things. Detail aspects of passive infrared motion detector work range a home intruder motion-detecting schemes. The primary evaluation of the passive infrared motion detector system was conducted to evaluate functional detection. The system can do daily motion detection work automatically it provides intruder detection in a variety of distances and angles of circumstances and location monitoringen_US
dc.description.degree-nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
Appears in Collections:ICT-IT-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUB LIEUTENANT AUTTAPON AMA TY AKUL.pdf6.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.