Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1539
Title: | ปัญหาการประกันสังคมของแรงงานประมงทางทะเล |
Other Titles: | Problem of social security with marine fishery workers |
Authors: | นิธิวัชร์ ศิริวรานภาพงศ์ |
metadata.dc.contributor.advisor: | ธานี วรภัทร์ |
Keywords: | แรงงานในการประมง -- ไทย;การคุ้มครองแรงงาน;ประกันสังคม -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการประกันสังคมของแรงงานประมงทางทะเล เนื่องจากแรงงานประมงไม่ใช่แรงงานภาคบังคับที่ต้องเข้าสู่ระบบประกันสังคมเหมือนอาชีพอื่น ๆ แต่กลับเป็นความสมัครใจของนายจ้างและลูกจ้างที่จะเข้าสู่ระบบประกันสังคม ซึ่งอาจจะไม่ได้รับการคุ้มครองด้านสวัสดิการ การประกันสังคมที่ดี เมื่อเทียบกับแรงงานประเภทอื่น และตัวลูกจ้างที่เป็นแรงงานประมงยังได้รับความคุ้มครองน้อยกว่าทั่วไป และเมื่อเข้ามาแล้วกับถูกจากัดสิทธิที่น้อยกว่าอาชีพอื่น ทั้งที่แรงงานประมงเป็นอาชีพที่สาคัญและมีความเสี่ยงสูงเมื่อเทียบกับแรงงานหลาย ๆ อาชีพ จากผลการศึกษาพบว่า กฎหมายเกี่ยวกับการประกันสังคมของแรงงานประมงทางทะเลของประเทศไทย และมาเลเซีย มีความคล้ายคลึงกันในเรื่องของ ระบบการประกันสังคม การครอบคลุมในสาขาอาชีพ และการเข้าสู่ระบบ เนื่องจากยังมีความจากัดเฉพาะกลุ่ม และขอบเขตความคุ้มครองยังมีน้อยอยู่ และสามารถเข้าสู่ระบบประกันสังคมได้อย่างมีข้อกาหนด จึงทาให้ถูกจากัดสิทธิในความคุ้มครองที่น้อยกว่าอาชีพอื่น สาหรับประเทศจีน และญี่ปุ่นมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องของ ระบบการประกันสังคม การครอบคลุมในสาขาอาชีพ และการเข้าสู่ระบบ เนื่องจากมีระบบประกันสังคมที่ครอบคลุมทุกอาชีพ และมีกฎหมายที่ชัดเจน สามารถเข้าสู่ระบบประกันสังคมได้ ถึงแม้ว่าจะเป็นงานอาชีพอิสระ และได้รับสิทธิเท่าเทียมกัน และทุกอาชีพสามารถได้รับสิทธิประโยชน์ประกันสังคม จากการศึกษาจึงมีข้อเสนอแนะว่าต้องมีการแก้ไขพัฒนากฎหมายเป็นพระราชบัญญัติเฉพาะ โดยการเพิ่มสิทธิประโยชน์ของแรงงานประมงทางทะเลให้เท่าเทียมกันกับแรงงานประเภทอื่น ทั้งในกรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย กรณีคลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ทุพพลภาพ ว่างงาน ชราภาพ และเสียชีวิต |
metadata.dc.description.other-abstract: | The objective of the research was to study the problems of social security of marine fishery labor. This type of labor is not considered compulsory workers, who must enter the social security system like other occupations, but rather are voluntary by both employers and employees. Also, these workers are less protected, and despite the fact that fishing is an important occupation and has a high risk compared to other occupations, it comes to being restricted to fewer rights than many others. The results revealed that the social security laws on marine fishery labor of Thailand and Malaysia are similar in that of social security system regarding career coverage and entering system. This is because of a limited group, the small scope of coverage, and the ability to enter the social security system with requirements. As a result, it is limited to the right to cover less than other occupations. China and Japan have the similarities in terms of the social security system with career coverage and entering system because their social security systems, which cover all occupations, have clearly made laws. Their workers can enter the social security system even if they considered self-employed. As a consequence, every individual can receive equal rights, and all people with different occupations can gain social security benefits. According to the current study, the aforementioned law is suggested to be amended and developed into a specific act by increasing the benefits of marine fishery labor to be equal to other types of workers, both in the event of illness or danger, in the case of childbirth, child support, disability, unemployment, old age, and death. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 |
metadata.dc.description.degree-name: | นิติศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | นิติศาสตร์ |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1539 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | Law-Law-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NITHIWACH SIRIWARANAPAPHONG.pdf | 2.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.