Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1558
Title: | ปัจจัยที่มีผลต่อการเต็มใจจ่ายรายเดือน Youtube premium |
Other Titles: | Factors affecting willingness to a monthly subscription of Youtube premium |
Authors: | ภิวัฒน์ ประสพผล |
metadata.dc.contributor.advisor: | ธันย์พัทธ์ ใคร้วานิช |
Keywords: | วีดิทัศน์บนอินเทอร์เน็ต;สื่อสังคมออนไลน์ -- การประชาสัมพันธ์;ยูทูป (บริการออนไลน์);โฆษณา -- การจัดการ |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเต็มใจจ่ายรายเดือน YouTube Premium โดยปัจจุบัน YouTube ได้มีการเปิดตัวบริการที่เรียกว่า YouTube Premium เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าที่เป็นสมาชิก จะสามารถรับชมวีดีโอแบบไม่มีโฆษณาเข้ามาขัดจังหวะ จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามทางออนไลน์ 648 คน ปัจจัยส่วนบุคคลส่วนใหญ่ เป็นผู้ชาย อายุ 20-30 ปี มีระดับการศึกษา คือ ปริญญาตรี และมีรายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท ปัจจัยอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับชมมากที่สุด คือ โทรศัพท์ Smartphone รองลงมา คือ Notebook ปัจจัยช่วงเวลาในการรับชม YouTube มากที่สุด คือ ตลอดเวลาที่ว่าง รองลงมา คือ ช่วงดึก ปัจจัยประเภทของคลิปวิดีโอ ที่นิยมมากที่สุด คือ How to รองลงมา คือ ฟังเพลง จากแบบสอบถามผู้ที่เคยทดลองใช้ YouTube Premium ฟรี 1 เดือน มีทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 67.9 กับผู้ที่ไม่เคยใช้ คิดเป็นร้อยละ 31.2 ซึ่งผู้ที่ทดลองฟรี 1 เดือน จะยังคงใช้บริการ Premium ต่อโดยไม่ได้ทำการยกเลิก ดังนั้น YouTube สามารถเพิ่มยอดผู้ใช้งานได้ โดยเพิ่มการทดลองใช้ฟรีจาก 1 เดือน เป็น 3 เดือน หรือมากกว่า เพื่อเพิ่มยอดผู้ใช้งานมากยิ่งขึ้น และจากการทดสอบสมมติฐานตัวแปรอิสระปัจจัยบุคคล พบว่าการพยากรณ์ตัวแปรอิสระปัจจัยบุคคลทั้งหมดดีกว่า การใช้ตัวแปรที่มีระดับนัยสำคัญ 0.05 คือ ระดับการศึกษา ดังนั้นเลือกใช้ตัวแปรปัจจัยบุคคลทั้งหมด จะมีประสิทธิภาพมากกว่า ส่วนการพยากรณ์ตัวแปรอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับชม ที่มีระดับนัยสำคัญ 0.05 สามารถใช้ตัวแปรอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับชมได้ทั้งหมด ดังนั้นเลือกใช้ตัวแปรที่เหมาะสม ส่วนตัวแปรช่วงเวลาในการรับชม พบว่าการพยากรณ์ การใช้ตัวแปรช่วงเวลาในการรับชมทั้งหมดดีกว่า การใช้เฉพาะตัวแปรที่มีระดับนัยสาคัญ 0.05 คือ ช่วงเวลาดึก กับ ช่วงเวลาไม่แน่นอน ดังนั้นเลือกใช้ตัวแปรช่วงเวลาในการรับชมทั้งหมดมีประสิทธิภาพมากกว่า ส่วนตัวแปรประเภทของคลิปวิดีโอ พบว่าการพยากรณ์ การใช้ตัวแปรประเภทของคลิปวิดีโอทั้งหมดดีกว่า การใช้เฉพาะตัวแปรที่มีระดับนัยสำคัญ 0.05 ดังนั้นเลือกการใช้ตัวแปรประเภทของคลิปวิดีโอทั้งหมด มีประสิทธิภาพมากกว่า |
metadata.dc.description.other-abstract: | The purpose of this study was to determine the elements that influence a user's desire to pay for YouTube Premium on a monthly basis. At the present, YouTube is creating a service called YouTube Premium in order to eliminate advertising that disrupt its subscription customers' ability to view videos uninterrupted. The data were gathered through online surveys completed by 648 persons. For the personal factor, the majority of them were men between the ages of 20 and 30, with a bachelor's degree and a monthly salary of between 10,000 and 20,000 baht. In terms of device, cellphones were the most often used for watching, followed by laptops. When it came to watching time on YouTube, the most popular times were during leisure time and late at night. The most popular video clip type was How to, followed by listening to music. According to the survey, 67.9 percent of all respondents had tested YouTube Premium for one month free, with 31.2 percent of those who have never used it having attempted the one-month free trial and intend to continue using the Premium service without canceling. Thus, YouTube may boost its user base by raising the duration of the free trial from one month to three months or more. The hypothesis testing of the independent variable of the personal component revealed that all individual independent factors predicted better than the education level variable with a level of significance of 0.05. As a result, it will be more effective to choose all of the personal factors. With a significance level of 0.05, all viewing device variables are regarded suitable for predicting the factor of device used in viewing. With a significance level of 0.05, it was discovered that the variables of viewing time on YouTube predicted better than the variables of late night and unknown time. As a result, the variable selection is deemed suitable. With a level of significance of 0.05, it was determined that the prediction was superior than employing a single video clip type. As a result, it is believed that selecting all variables is more effective. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐกิจดิจิทัล)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 |
metadata.dc.description.degree-name: | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | เศรษฐกิจดิจิทัล |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1558 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | EC-DE-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PIWAT PRASOPPOL.pdf | 2.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.