Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1604
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป-
dc.contributor.authorสราวุฒิ ชลออยู่, พลเอก-
dc.date.accessioned2023-02-28T06:05:01Z-
dc.date.available2023-02-28T06:05:01Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1604-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์แนวคิดภาคประชาสังคมเมืองเพชรบุรี (2) วิเคราะห์การพัฒนาเมืองเพชรบุรีแบบร่วมมือกันตามแนวคิดภาคประชาสังคมเมืองเพชรบุรี และ (3) เสนอแนวทางการพัฒนาเมืองเพชรบุรีแบบร่วมมือกันตามแนวคิดภาคประชาสังคมเมืองเพชรบุรี การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วย ผู้แทนภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 31 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึกและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาและตีความ และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลแบบสามเส้าและตรวจสอบโดยผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ผลการวิจัยพบว่า (1) แนวคิดภาคประชาสังคมเมืองเพชรบุรีมีลักษณะมุ่งเน้นการพัฒนาความเป็นอัตลักษณ์ของเมืองเพชรบุรีซึ่งฐานคิดที่เป็นกลไกในการพัฒนาเกิดขึ้นจากทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี และองค์ความรู้ทางภูมิปัญญา เพื่อส่งเสริมการพัฒนาด้านกายภาพ สังคม การจัดการสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม (2) การพัฒนาเมืองเพชรบุรีแบบร่วมมือกันตามแนวคิดภาคประชาสังคมเป็นการพัฒนาที่นาทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี และองค์ความรู้ทางภูมิปัญญาเข้าเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของพื้นที่ มีลักษณะความร่วมมือแบบปรึกษาหารือร่วมกัน ส่งผลให้เกิดการเข้ามามีส่วนร่วมโดยไม่รู้สึกแปลกแยก ทาให้เกิดการพัฒนาด้านกายภาพ สังคม การจัดการสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบกลไกการทางานของรัฐในด้านกฎ ระเบียบ ขั้นตอน หรือแนวนโยบายของรัฐ และ (3) แนวทางการพัฒนาเมืองเพชรบุรีแบบร่วมมือกันตามแนวคิดภาคประชาสังคมที่สาคัญคือควรมีกลไกในการพัฒนาด้านกายภาพ สังคม การจัดการสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ควรส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมภาครัฐควรพัฒนากระบวนการร่วมมือแบบปรึกษาหารือร่วมกันและควรให้ความสาคัญกับบทบาท ศักยภาพ และผู้นาของภาคประชาสังคมในการพัฒนาด้านกายภาพ สังคม การจัดการสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมตั้งแต่เริ่มดาเนินการจนเสร็จสิ้นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดen_US
dc.subjectวิสาหกิจเพื่อสังคมen_US
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรม -- มาบตาพุด (ระยอง)en_US
dc.subjectอุตสาหกรรม -- แง่สังคมen_US
dc.titleการเข้าสู่วาระนโยบายและการก่อตัวของนโยบายจัดตั้งบริษัทวิสาหกิจเพื่อสังคมมาบตาพุดen_US
dc.title.alternativeAgenda setting and policy formation of the Map Ta Phut social enterprise policyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were to analyze the civil society concept of Phetchaburi, to analyze the collaborative development of Phetchaburi based on the civil society concept of Phetchaburi, and to propose the guidelines of collaborative development of Phetchaburi based on the civil society concept of Phetchaburi. This research employed the qualitative research method comprising the study and analysis of data through documents and in-depth interviews with the key informants consisting of government representatives, private representatives, and civil society representatives. The 31 informants were selected via purposive sampling. Data were collected through in-depth interviews and focus groups. Data were analyzed using content analysis and interpretation, and then were verified for the accuracy of the three-way data by the key informants. The results revealed that (1) the concept of civil society in Phetchaburi focused on the development of the identity of Phetchaburi, in which the base of ideas as the development mechanism arises from social capital, cultural traditions and knowledge to promote physical, social, environmental, and cultural development. (2) The collaborative development of Phetchaburi based on the civil society concept of Phetchaburi employs social capital, cultural traditions and knowledge connected with the way of life of the area in the form of collaboration in consultation, resulting in participation without feeling alienated, and leading to physical, social, environmental, and cultural development to participate in the development of the government working mechanism in terms of rules, regulations, procedures or policies. (3) According to collaborative development of Phetchaburi based on the civil society concept of Phetchaburi, there should be the guidelines for physical, social, environmental, and cultural development, which are related to each other. The participation process of civil society should be promoted; the government should develop the collaboration in consultation, and should emphasize the roles, potentials and leaders of civil society in the development of physical, social, environmental, and cultural development from the beginning until the enden_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
GENERAL SARAVUT CHALORYOU.pdf4.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.