Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1639
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล | - |
dc.contributor.author | ชัชสรัญ ตรีทิพยรักษ์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-01T02:09:29Z | - |
dc.date.available | 2023-06-01T02:09:29Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1639 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ. ม. (สาขาวิชาบริหารธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2559 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความแตกต่างด้านปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษาสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก และส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษาสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต และ (3) เพื่อศึกษาปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก และส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษาสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งมีจา นวนประชากรทั้งสิ้น 4,456 คน โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับชั้นปี ที่ 1-4 จา นวน 367 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling)แบ่งออกเป็ น 9 ชั้น ตามสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประกอบด้วย วิทยาลัยแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ กายภาพบา บัด วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก วิทยาศาสตร์ และทัศนมาตรศาสตร์ งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (QuantitativeResearch) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทา การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้พรรณนาสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test One-Way ANOVA วิเคราะห์ค่า สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ (MRA) โดยคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบขั้นตอน (Stepwise) ผลการวิจัยพบว่า (1) เพศและสาขาวิชา/คณะ ที่แตกต่างกันส่งผลต่อแรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ปัจจัย ภายใน ปัจจัยภายนอก และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับแรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต และ (3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจมีทั้งหมด 6 ด้าน ประกอบด้วย บุคลิกภาพ (X2) ความเชื่อถือ (X3) สังคมและวัฒนธรรม (X5) ผลิตภัณฑ์ (X7) ราคา (X8) และโปรโมชั่น (X10) ผลจากการสร้างสมการพยากรณ์ในรูปแบบคะแนนดิบ คือŶ = 1.529 + 0.249 X7 + 0.263X10 + 0.127X2 + 0.160 X5 + 0.105 X8 + 0.156 X3 และคะแนนมาตรฐานคือ Ẑ = 0.241 ZX7 + 0.319 ZX10 + 0.122 ZX2 + 0.164 ZX5 + 0.123 ZX8 + 0.149 ZX3 ผลจากการวิจัยสามารถนาไปปรับปรุงทรัพยากรในมหาวิทยาลัยให้ สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษา และสามารถทา การศึกษาวิจัยต่อยอดในเรื่องความพึงพอใจหลังจากเลือกเข้าศึกษาต่อ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | นักศึกษา -- การศึกษาต่อ -- การตัดสินใจ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การจูงใจในการศึกษา -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การศึกษาขั้นอุดมศึกษา | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สายวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | Factors affecting educational motivation for undergraduate students in health science at Rangsit University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purposes of this research were to: (1) Study personal different factors affecting students’ motivation to study in Health Sciences at Rangsit University (2) Study the relationship among internal factors; external factors and the marketing mix affecting student’s motivation to study in Health Sciences at Rangsit University and (3) Study internal factors, external factors, and the marketing mix affecting students’ motivation to study Health Sciences at Rangsit University. The population of this study was 4,456 students in years 1-4. The samples who represented the population were 367 students who were chosen by the stratified random sampling from 9 branches of Health Sciences in the academic year 2015. These 9 branches included the College of Medicine, Faculty of Dental Medicine, Faculty of Pharmacy, School of Nursing, Faculty of Medical Technology, Faculty of Physical Therapy, College of Oriental Medicine, Faculty of Science, and Faculty of Optometry. The instrument used in this quantitative research was a questionnaire constructed by the researcher. The statistics used in data analysis were Percentage Mean Standard deviation t-test one-way ANOVA Pearson’s Correlation Coefficient and Multiple Regression Analysis (MRA) by Stepwise Method. The results found that: (1) Genders, major subjects, and different faculties were statistically significant at 0.05 (2) Internal factors, external factors and marketing mix had a positive association with student’s motivation to study in Health Sciences at Rangsit University (3) There were 6 factors affecting student’s motivation which were Personality (X2) Reliability (X3) Society & Culture (X5) Product (X7) Price (X8) Promotion (X10). The results of formulating prediction equations of achievement motivation in the forms of raw scores was as follows : Ŷ = 1.529 + 0.249 X7 + 0.263X10 + 0.127X2 + 0.160 X5 + 0.105 X8 + 0.156 X3 and standard scores is as follows : Ẑ = 0.241 ZX7 + 0.319 ZX10 + 0.122 ZX2 + 0.164 ZX5 - 0.123 ZX8 + 0.149 ZX3 All this research can be used as a guideline to improve university’s resources to fulfill the requirements of students and continue to study students’ satisfaction after studying at Rangsit University. | en_US |
dc.description.degree-name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | บริหารธุรกิจ | en_US |
Appears in Collections: | BA-BA-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chatsaran Treetippayarak.pdf | 3.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.