Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1663
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประทุม แป้นสุวรรณ-
dc.contributor.authorเจษฎา ประสิทธิ์ดำรง-
dc.date.accessioned2023-06-06T08:03:00Z-
dc.date.available2023-06-06T08:03:00Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1663-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ตามความคิดเห็น ของครู 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู จำแนก ตามระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียนที่แตกต่างกัน 3) เพื่อหาแนว ทางการพัฒนาภาวะผู้นำในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงาน ประถมศึกษากรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู สังกัดสำนักงานประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ทั้งสิ้น 50 เขต จำนวน 400 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ ตัวแปรที่ศึกษาประกอบไปด้วย ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ข้อมูลเพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน ตัวแปรตาม ได้แก่ ภาวะผู้นำในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา 6 ด้าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป ค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่า ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( x̄ ) และค่าสถิติ (f-test), (t-test) ผลการวิจัย มีดังนี้ ภาวะผู้นำในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานครทั้ง 5 ด้าน มีภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ส่วนด้านการส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพครู มีภาพรวมในระดับปานกลาง ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นาในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน พบว่าผลการทดสอบเพศ และ ประสบการณ์ในการทางานที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับภาวะผู้นำในการบริหารงาน ประสบการณ์ในการทำงานที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับภาวะผู้นาในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาไม่ต่างกัน ผลการทดสอบการศึกษาและอายุที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับภาวะผู้นำในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานประถมศึกษากรุงเทพมหานคร มีปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านบุคลิกภาพของผู้บริหารและมนุษยสัมพันธ์ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 49.5 รองลงมา ด้านการส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพครู คิดเป็นร้อยละ 29 และด้านการส่งเสริมสวัสดิการครู น้อยที่สุด ร้อยละ 11.5en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน -- ภาวะผู้นำ -- วิจัยen_US
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษา -- วิจัยen_US
dc.titleภาวะผู้นำในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeLeadership in personal administration school administrators, under office of education Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research had objectives to 1) study leadership in personnel administration of school administrators, under office of education, Bangkok according to teachers’ opinion 2) to compare leadership in personnel administration of school administrators, under office of education, Bangkok according to teachers’ opinions sorted by level of education, work experiences and differences in school size 3) to find the method to develop leadership in personnel administration of school administrators, under office of education, Bangkok. Experimental group were 400 teachers under office of education, Bangkok from 50 areas by using stratified random sampling. Variables studied in this research consisted of independent variables which were gender, age, level of education, and dependent variables which were 6 aspects of leadership in personnel administration of school administrators. The method used in this research was questionnaire analyzed by using computer program. Statistics used in this research are percentage, average ( x̄ ), and statistic (f-test), (t-test). Finding 5 aspects of leadership in personnel administration of school administrators, under office of education, Bangkok had high level of overall image. In encouraging progress in teaching career, the overall image was moderate. The result from comparing leadership in personnel administration of school administrators, under office of education, Bangkok according to teachers’ opinion, sorted by gender, age, level of education, and different work experiences showed that testing in gender and gender, age, level of education, and different work experiences showed that testing in gender and different work experiences reveal the same outlook in level of leadership in personnel administration of school administrator. The result from testing in level of education and age differences having the opinion about level of leadership in personnel administration of school administrators had the significant statistical difference as 0.05. In method to develop leadership in personnel administration of school administrators, under office of education, Bangkok, there were problems and suggestion about personnel administration of school administrators. Characteristic of administrators and interpersonal relations had the most percentage for 49.5 percent. The next was encouraging progress in teaching career for 29 percent. And promoting teacher welfare had the least percentage for 11.5 percenten_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการบริหารการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JATESADA PRASITDAMRONG.pdf3.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.