Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1690
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณเพ็ญ ฉายปรีชา-
dc.contributor.authorวีระพันธุ์ สุภานันท์-
dc.date.accessioned2023-06-09T07:53:22Z-
dc.date.available2023-06-09T07:53:22Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1690-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ มีจุดประสงค์เพื่อออกแบบสื่อแอนิเมชัน 3 มิติ ที่มีเนื้อหาส่งเสริมให้เด็ก อายุระหว่าง 9 - 12 ปี เข้าใจคุณค่าของเงิน ทฤษฎีที่ใช้ศึกษาประกอบด้วย การส่งเสริมให้เด็กเห็น คุณค่าของเงิน จิตวิทยาความต้องการของเด็ก วิเคราะห์รูปแบบการนำเสนอของสื่อภาพยนตร์และ โฆษณาที่เกี่ยวข้องกับการเงินและการรณรงค์ด้านต่างๆ ตลอดจนทฤษฎีการออกแบบภาพยนตร์ แอนิเมชัน 3 มิติ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ชมสามารถตระหนักถึงคุณค่าของเงินได้ จากสื่อแอนิเมชันที่ นำเสนอภาพการทำงานหนักของพ่อ ทำให้กลุ่มเป้าหมายเข้าใจถึงความยากลำบากในการทำงานแลก กับเงิน นอกจากนี้การแสดงความรักและความผูกพันระหว่างพ่อกับลูก ตลอดจนความคิดสร้างสรรค์ ที่จะหาทางออกที่ดีในการใช้เงิน จะช่วยให้ผู้ชมเห็นถึงคุณค่าและรู้จักคิดก่อนใช้จ่ายได้en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectภาพยนตร์การ์ตูน -- การออกแบบ -- วิจัยen_US
dc.subjectภาพยนตร์แอนิเมชั่น -- วิจัยen_US
dc.subjectสื่อปฏิสัมพันธ์ -- การออกแบบ -- วิจัยen_US
dc.titleการออกแบบภาพยนตร์แอนิเมชันเพื่อส่งเสริมให้เด็กเห็นถึงคุณค่าของเงินen_US
dc.title.alternativeAnimation design for encouraging children to realize the value of moneyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this research is to create animated film to help children between the ages of 9-12 learn about the value of money. The research was based primarily on factors encouraging awareness of the value of money; psychological needs of children between the ages of 9-12; analysis of diverse media formats, media campaigns to promote financial literacy; and the 3D animation film design theory. It is found that the use of animated film featuring the father’s hard work raises awareness among the target group that money is not something freely given, but is earned through work. The influence of creating a strong father-son relationship and the positive input on how to use money properly can help the audiences learn the value of money and prepare them for making good spending decisions in the future.en_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineคอมพิวเตอร์อาร์ตen_US
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WEERAPAN SUBHANANT.pdf66.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.