Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเด่น อยู่ประเสริฐ-
dc.contributor.authorมลล์วธู วิโรจน์ไตรรัตน์-
dc.date.accessioned2023-06-16T05:48:35Z-
dc.date.available2023-06-16T05:48:35Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1714-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (ดนตรี)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2555en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เพื่อวิเคราะห์การขยายขอบเขตของการเล่นบลูส์ในบทเพลงเมทริกซ์ โดย ชิค โคเรีย มีขอบเขตของการวิเคราะห์ในประเด็นต่างๆ โดยศึกษาจากจังหวะ ทำนอง เสียงประสาน บันไดเสียง และอื่นๆ ที่สำคัญ และสรุปตามลักษณะเด่นที่พบในบทเพลง จากการวิจัย ด้านลักษณะจังหวะ พบว่า ชิค โคเรีย ใช้หลักการเคลื่อนย้ายกลุ่มของจังหวะ จากการใช้โน้ตจังหวะกลุ่มเดิม แต่เคลื่อนย้ายตำแหน่งการอิมโพรไวส์ในการเล่นจังหวะที่ไม่ เหมือนกัน ทำให้เกิดความหลากหลายเป็นวัตถุดิบใหม่ๆ สามารถนำมาพัฒนาต่อไป ด้านแนว ทำนอง พบการใช้กลุ่มโน้ต 4 ตัว อย่างชัดเจน ร่วมกับบันไดเสียงต่างๆ เช่น เพนทาทอนิก, ดิมินิชท์ และ โครมาติก เป็นต้น รวมถึงการนำซีเควนซ์มาสร้างเอกภาพให้แนวทำนอง ช่วยทำให้ผู้ฟังติดตาม ได้แม้ว่ากลุ่มโน้ตอาจเป็นโน้ตนอกคอร์ด ส่วนด้านเสียงประสานนั้น พบว่ามุ่งเน้นการใช้เสียง ประสานคู่ 4 และคอร์ดทบขยายคู่สี่เรียงซ้อน จากลักษณะของขั้นคู่ 4 เพอร์เฟค และขั้นคู่ 4 ออกเมนเทด เป็นหลักสำหรับการเล่นมือซ้าย ด้านการดำเนินทางของคอร์ด พบการใช้หลักการของ การวางทรัยแอดซ้อนคอร์ดเมเจอร์ซ้อนระหว่างมือขวาและมือซ้าย เพื่อทำให้เกิดโน้ตขยายและแนว ทำนองที่น่าสนใจหลุดออกจากกรอบเสียงประสานเดิม เป็นหลักการบรรเลงโน้ตนอกคอร์ดจึงทำให้ เกิดความแตกต่างและวัตถุดิบใหม่ในการขยายขอบเขตของการเล่นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectบทเพลงเมทริกซ์ -- วิจัยen_US
dc.subjectดนตรีบลู -- วิจัยen_US
dc.titleการขยายขอบเขตของการเล่นบลูส์ในบทเพลงเมทริกซ์ โดย ชิค โคเรียen_US
dc.title.alternativeExtended blues? : analytical studies on matrix of chick corea improvisationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this study is to analyze how Chick Corea has pushed the boundaries of Blues style in his number "Matrix" by looking into the details of rhythm, melodies, harmony, scales and other key elements found in the piece. The research has speculated that rhythm-wise, Corea used rhythmic permutations (playing the same groupings over different positions in a measure) to vary his improvisation materials which can be further developed. Melody-wise, Corea relied heavily on four-note groupings derived from different scales like pentatonic, diminished and chromatic. His melodic variations also include sequences which, create uniformity throughout his passages despite using nonchord tones. Harmony-wise, Corea generously used fourth intervals (both perfect and augmented) and quartal chords in his left hand. His chord progressions applied extended triads on major chords between his left and right hands in order to create extended harmony which added interesting colors to the melodies, pushing the boundaries of traditional harmony and yielding unforeseen musical materials to develop at greater lengths.en_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineดนตรีen_US
Appears in Collections:Ms-Music-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
MULVATHU VIROJTRIRAT.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.