Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1728
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิรัชฌา วิเชียรปัญญา | - |
dc.contributor.author | มุกดา อรุณรังษี | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-23T03:12:05Z | - |
dc.date.available | 2023-06-23T03:12:05Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1728 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับ ปัจจัยที่มีผลต่อระดับการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อระดับการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์กับการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ และเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์เพื่อสร้างการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้สอนสังกัดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐในจังหวัดกระบี่ กลุ่มตัวอย่างการวิจัยในครั้งนี้คือ ผู้สอนในสังกัดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ จังหวัดกระบี่ จานวน 16 โรงเรียน จานวน 254 คน เครื่องมือที่ใช้สาหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ตอบแบบสอบถามภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅= 3.78) เมื่อพิจารณาในรายละเอียดเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้านที่สอบ ถามคือ ขั้นการรับรู้ (x̅= 3.92) ขั้นจูงใจ (x̅= 3.92) ขั้นการตัดสินใจ (x̅= 3.73) ขั้นการยืนยัน (x̅= 3.68) และขั้นการนาไปใช้ (x̅= 3.66) 2. ปัจจัยที่มีผลต่อระดับการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ตอบแบบสอบถามภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̅= 3.41) เมื่อพิจารณาในรายละเอียดเป็นรายด้านพบว่าส่วนมากอยู่ในระดับปานกลางดังนี้ ปัจจัยด้านงบประมาณ ด้านเทคนิคและบทเรียน และด้านการจัดการและการให้บริการ ยกเว้นปัจจัยด้านบุคลากรที่พบว่าอยู่ในระดับมาก (x̅= 3.59) 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อระดับการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์กับการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ภาพรวมมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวก เมื่อพิจารณารายละเอียดเป็นรายด้านพบว่า ส่วนมากมีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวกอยู่ในระดับสูง ยกเว้นขั้นการรับรู้มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง 4. ยุทธศาสตร์เพื่อสร้างการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้สอนสังกัดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐในจังหวัดกระบี่ ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ดังนี้ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสมรรถนะผู้สอนและผู้เรียน ยุทธศาสตร์การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ยุทธศาสตร์พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ยุทธศาสตร์งบประมาณการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ยุทธศาสตร์การสร้างการรับรู้การเรียนการสอนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title | การพัฒนายุทธศาสตร์เพื่อสร้างการยอมรับการเรียนการสอนด้วยบทเรียบนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้สอนสังกัดโีรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ ในจังหวัดกระบี่ | en_US |
dc.title.alternative | The development of strategy for accepting electronic learning of teacher government secondary school in Krabi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research has the objective to identify the level of acceptance of electronic learning system and the factors affecting towards the acceptance. It also defines for studiesthe strategy created in accepting electronic learning ofgovernment teachers in Secondary School in Krabi Province.The survey was collected from the teachersof Government Secondary Schools in Krabi Provincewith a total of 16 schools and a total of 254 persons. The tool used for data collections are questionnaires and wasanalyzedusing statisticaltool in terms of frequency, percentage, average and standard deviation. 1. Here’s the summary and conclusion:Electronic learning was accepted at high level at an average of (x̅= 3.78). This is considering various fields asfollows: Recognition field (x̅=3.92), Motivation field (x̅= 3.92), Decision field (x̅= 3.73), Confirmationfield (x̅= 3.68), Execution field (x̅= 3.66). 2. The factorsaffecting the acceptance of electronic learning were identified to be at medium level at an average of (x̅= 3.41). Details as follows:Budget field, Technique and lesson field, Management field, Service field, Personnel field was however identified to be at high level at an average of (x̅= 3.59). 3. The research showed that association between factors affecting electronic learning was positively accepted at high level among secondary teachers. There were factors identified affecting the acceptance, howeverwith the strategy created it is expected that this will be successfully launched. Accept Recognition field positively association in medium level. 4. The strategy created in accepting the lessons in electronic learning of the Government Teachers in Secondary Schools in Krabi Province are identified as including 5 follows: Development the ability of teachers and students, Development the electronic lesson system, Development the base structure of Information Technology, Development the budget strategy, Acceptable teaching creation by electronic learning | en_US |
dc.description.degree-name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
Appears in Collections: | ICT-ITM-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
MOOKDA ARUNRANGSEE.pdf | 9.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.