Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1767
Title: | การใช้สื่อการ์ตูนมัลติมีเดียในการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี จังหวัดปราจีนบุรี |
Other Titles: | Using cartoon multimedia to develop english reading comprehension skilk of grade 4 students at Mathayomwatmaikrongtong school under Princess Maha Chakri Sirindhon's Patronage, Prachinburi Province |
Authors: | ธนาวุฒิ สุรพรรณ |
metadata.dc.contributor.advisor: | มณีเพ็ญ อภิบาลศรี, วนิดา พลอยสังวาลย์ |
Keywords: | การเรียนรู้ภาษาที่สอง;มัลติมีเดียเพื่อการศึกษา |
Issue Date: | 2556 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจยัครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อการใชสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียในการพัฒนาทักษะการอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจสำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่4 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 354 คน และกำหนดกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่ม ละ 50 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) สมชาย วรกิจเกษมสกุล (2553) เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยการ์ตูนมัลติมีเดีย การให้ความหมายคำศัพท์เป็น เสียง ภาพ และ เป็นตัวอักษร แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงัเรียน สถิติที่ใช้ได้แก่ค่าร้อยละค่า t-test ค่าเฉลี่ยเลข คณิตมาตรฐาน และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยัพบว่า ผลการทดสอบความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษหลังการฝึก ด้วยการใช้สื่อการ์ตูนมัลติมีเดียในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับน้อยกว่า 0.05 |
metadata.dc.description.other-abstract: | The purpose of this research was to use cartoon multimedia to develop English reading comprehension skills of Grade 4 students of Mathayomwatmaikrongtong School, Prachinburi province, The study samples were the 354 grade 4 students who were assigned to be the experimental group and the control group, with 50 students in each, selected by multi - stage sampling. The instruments were two models of cartoon multimedia teaching the word meaning through images and through words, pre-test and post test. Data analysis methods used were percentage, arithmetic mean, t-test and standard deviation. The results revealed that the score of the post-test in the experimental group was significantly higher than that of the control group at p- value = .05 |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษาระบบสองภาษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | การศึกษาระบบสองภาษา |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1767 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | EDU-Bil-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
THANAWUT SURAPHAN.pdf | 5.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.