Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1781
Title: ระบบการโอนถ่ายภาพสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่านระบบเว็บการเฝ้ามอง
Other Titles: An electrocardiogram image transfer system via web monitoring
Authors: ธัญยธรณ์ ปวีร์หิรัญไกร
metadata.dc.contributor.advisor: ดวงอาทิตย์ ศรีมูล
Keywords: คลื่นไฟฟ้าหัวใจ;เครื่องตรวจคลื่นหัวใจ
Issue Date: 2556
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: เนื่องจากปัจจุบันการรับส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีความสําคัญต่อทางการแพทย์ เป็นอย่างมากในการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจ ระบบในการรับส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ในปัจจุบัน นั้นต้องใช้ อุปกรณ์ที่มีมาตรฐานและโปรโตคอล เดียวกัน จึง ทําให้เกิดปัญหาในกรณีที่ต้องการ เชื่อมต่อข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มีความแตกต่างโปรโตคอล งานวิจัยนี้ จึงได้ทําการออกแบบ ระบบใน การจัดการปัญหาดังกล่าวโดยแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกคือระบบจับภาพหน้าจอเครื่อง ECG จากเครื่องที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ ECG เมื่อทำการจับภาพหน้าจอ แล้วข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปแบบBMP จากนั้นระบบจะทําการบีบอัดภาพโดยใช้หลักการบีบอัดข้อมูลแบบ JPEG ทำให้สามารถลดขนาดของภาพลง จากการทดสอบในการบีบอัด ภาพจะเห็นได้ว่าระบบสามารถทําการบีบอัดภาพลดลง 85% ซึ่งคําให้เดภาพ าดเล็ก และเก็บข้อมูลลงบนระบบฐานข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สําหรับส่วนที่สองคือ การบริหารข้อมูลส่วนกลาง (Central Management) ซึ่งเมื่อมีการร้องขอข้อมูล จากส่วนนี้ ระบบส่วนนี้จะทําการส่งข้อมูลในลักษณะ Client User โดยประสิทธิภาพในการส่งข้อมูล ขึ้นอยู่กับแบนด์วิดธ์ที่ใช้ในการส่ง ข้อมูล ซึ่งผู้วิจัยได้ ทําการทดสอบ ส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย ท้องถิ่น 54 Mbps และระบบอินเตอร์เน็ต 6 Mbps โดยใช้ โปรแกรมจับแพ็คเกจในการส่งข้อมูลเพื่อดูความหน่วงบิตในการส่งข้อมูลจากเครื่องไคลเอนต์ไปยัง เครื่องเซิร์ฟเวอร์จากการทดลองอัตราการส่งข้อมูลภาพ ECG นั้นพบว่าขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูลที่ ทําการส่งกล่าวคือ เมื่ออัตราข้อมูลเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลจะน้อยลง โดยเฉลี่ยแล้ว โปรแกรมสามารถทําการส่งข้อมูลได้แบบต่อเนื่องที่ 30 เฟรมต่อวินาที กับระบบเครือข่ายท้องถิ่น 100 Mbps, 40 เฟรมต่อวินาที กับระบบเครือข่ายท้องถิ่น 54 Mbps และ 10 เฟรมต่อวินาที กับระบบ อินเตอร์เน็ต 6 Mbps ดังนั้นการโอนถ่ายภาพสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจในรูปแบบการจับภาพหน้าจอ ดังที่นําเสนอในบทความนี้ ทําให้สามารถแก้ปัญหาการรับส่งข้อมูลที่ต่างมาตรฐานกันได้และได้ ข้อมูล ECG ที่ถูกต้องตามมาตรฐานการผลิตเครื่อง ECG ของแต่ละราย
metadata.dc.description.other-abstract: Since the ECG Signal is very important for the medical treatment of patients with heart disease, which in the current system ECG signal requires a device with the same standards and protocols, so it is very hard to connect ECG data for monitoring with different devices and protocol. For solve the problems I has to designed 2 systems. The first ECG Capture screen system and installation on computer which is connected with ECG devices for capture screen, the using the compression JPEG of a technique called DCT which con the brightness of the image in the form of frequency and mage size to the experimental program to study the efficiency of compression of the two programs will be seen that the system can compress the image down from the BMP image type JPEG. The average rate of 85%, which makes the image smaller. Second, ECG central management which requested information from this section. This system will sent data in the client user by the efficiency of information transmission depend on bandwidth used in data transmission. For test the data transfer through local network of 100 Mbps, local area networks of 54Mbps and internet high speed of 6 Mbps using the packet data transmission to suck bits to transmit data from the Client to Server from which the data transmission rate by ECG images depends on the size of the data that is sent. Increased data rate performance when the data is less. On average, the program can send data continuously at 80 FPS, 40 FPS, and 10 FPS for the speed of 100 Mbps, 54 Mbps, and 6 Mbps, respectively. The test network is different, so the preparation of the receiving signals in a capture page. Screen, as presented in this article. Makes it is possible to solve the problem of data transfer between different standards and information as accurate as a standard ECG and ECG machine of each production.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556
metadata.dc.description.degree-name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1781
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:Eng-ECE-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TANYATRON PAWEEHIRUNKRAI.pdf17.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.