Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1782
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วลัยภรณ์ นาคพันธุ์ | - |
dc.contributor.author | พัดชา วีระอนันตวัฒน์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-07-07T05:18:38Z | - |
dc.date.available | 2023-07-07T05:18:38Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1782 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยชิ้นนี้ เกิดจากความตระหนักถึงความสําคัญในการเผยแพร่ดนตรีคลาสสิก ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสื่อแอนิเมชันที่นําเสนอความน่าสนใจของดนตรีคลาสสิกอีกทั้งยังสอดแทรกความบันเทิงให้แก่เยาวชน ในบทความวิจัยนี้จะเล่าถึงกระบวนการออกแบบแอนิเมชัน ซึ่งมีขั้นตอนตั้งแต่การศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้านสุนทรียศาสตร์ของดนตรี การหา ประเด็นที่จะถ่ายทอดความน่าสนใจของดนตรีคลาสสิกในแอนิเมชันซึ่งเหมาะสมกับเยาวชน นทรียะทางดนตรีผ่านภาพเคลื่อนไหว การออกแบบตัวละครและฉากการศึกษาสื่อที่ถ่ายทอดสุนทรียะทางดนตรีผ่านขั้นตอนการสร้างโมเดล 3 มิติ รวมไปถึงผลการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ดนตรีคลาสิก -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | สื่อปฏิสัมพันธ์ -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.title | โครงการออกแบบแอนิเมชัน เพื่อเชิญชวนเยาวชนให้สนใจดนตรีคลาสสิก | en_US |
dc.title.alternative | Animation project to promote interest in classical music for youth | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research is developed from the understanding and awareness in the essence of making the Classical music to be widely known. The purpose of this research is to presenting an animation media that offers an interesting of classical music as well as depictions of entertainment for the adolescents. The article is about the processes of animation design and study on the aesthetics of music, attraction of classical music animation which is appropriate for teenage, not only broadcasting media animation throughout the designing characters and scenes but also the process of a 3D models creating; including results of researching and goal. From the outcome of researching, Animation movie has their form of story-telling by synchronize the motion picture with the classical music. That is the vital factor to attract participation from audiences. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | คอมพิวเตอร์อาร์ต | en_US |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PATCHA VERAANUNTAWAT.pdf | 4.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.