Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1807
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นฤมิตร สอดศุข | - |
dc.contributor.author | กมลทิพย์ สุขแก้ว | - |
dc.date.accessioned | 2023-07-20T08:21:41Z | - |
dc.date.available | 2023-07-20T08:21:41Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1807 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (จีนในระบบเศรษฐกิจโลก)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้คือ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการความสัมพันธ์ไทย-จีน ด้านการทูต วัฒนธรรม และการศึกษาในอดีต 2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายอำนาจละมุนของจีนต่อไทย ด้านการทูต วัฒนธรรม และการศึกษาในปัจจุบัน และ 3) เพื่อศึกษาผลจากการใช้นโยบายอำนาจละมุนของจีนต่อไทยในด้านการทูต วัฒนธรรม และการศึกษาว่ามีต่อการเสริมสร้างหรือเป็นอุปสรรคต่อความสัมพันธ์ไทย-จีนในปัจจุบันและอนาคตมากน้อยเพียงใด วิธีการศึกษาใช้ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยรวบรวมข้อมูลเอกสารจากหน่วยงานต่างๆ ของประเทศไทย และจีนที่เกี่ยวข้องกับการใช้นโยบายอำนาจละมุนของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีต่อประเทศไทยในด้านการทูต วัฒนธรรม และการศึกษา ผลการศึกษาพบว่าจากการใช้นโยบายอำนาจละมุนของจีนทำให้ไทยได้ประโยชน์ ด้านการทูตที่ทำให้บทบาทของไทยมีความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้นในประชาคมโลก และกลุ่มอาเซียน ทั้งนี้ด้วยการยุติการสนับสนุนการปฏิวัติของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยในอดีต และการสงเสริมความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ทั้งภาครัฐ นับตั้งแต่ราชวงศ์ ผู้นำรัฐบาล และข้าราชการระดับสูง ตลอดจนภาคธุรกิจ และภาคประชาชน สำหรับด้านวัฒนธรรม ฝ่ายจีนประสบความสำเร็จด้านการใช้นโยบายอำนาจละมุนสร้างภาพลักษณ์ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีในหมู่คนไทย โดยอาศัยการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่แลกเปลี่ยนด้านศิลปะ วัฒนธรรม และการแสดงฯลฯ ส่วนด้านการศึกษา ฝ่ายจีนได้ใช้นโยบายอำนาจละมุนผ่านการสนับสนุนช่วยเหลือด้วยการให้ทุนบุคลากรและนักเรียนนักศึกษาไทยไปศึกษาดูงานในประเทศจีน และส่งบุคลากรและนักศึกษาจีนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเทศไทย ทั้งนี้โดยอาศัยสถาบันขงจื้อเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญ นอกจากนโยบายอำนาจละมุนของจีนจะนำไปสู่ความร่วมมือทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับจีนแล้ว ยังส่งผลดีให้สาธารณรัฐประชาชนจีนสามารถขยายความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศต่างๆในอาเซียนให้ก้าวหน้าต่อไปได้อย่างมีศักยภาพอีกด้วย รวมทั้งยังเป็นการสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางการค้า และการเข้ามามีบทบาทในอาเซียนเพิ่มขึ้นตามมา | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- จีน | en_US |
dc.subject | ไทย -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- จีน | en_US |
dc.title | นโยบายอำนาจละมุนของจีนต่อไทยและผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน | en_US |
dc.title.alternative | The policy of China's spft power toward Thailand and its impact on Sino-Thai relation | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This study has the following objectives: 1) to study the development of the relationship between Thailand and China through the former’s soft diplomacy related to culture and education aspects 2) to analyze the present use of China's soft power on Thailand in cultural and educational aspects and 3) to study the effects of the use of China’s soft power, in order to understand current and future trends. This is a qualitative research which devised existing documents from various institutions and sources. The results showed that the use of soft power by China has elevated Thailand’s diplomatic position in international community including ASEAN. That includes the overthrow of the Communist Party of Thailand. Also as a result, the soft diplomacy has strengthened and promoted good relations between the two countries. People and business were brought closer as a result of better understanding of China among the people of Thailand. By encouraging the exchange and dissemination of cultural, educational and artistic performances, China has been able to use its soft power through the provision of grants to support students and professionals. The Confucius Institute plays a major role in this. In addition, China's soft power policy will lead to greater economic and trade cooperation between China and Thailand. These undertakings will be beneficial for China to expand its relations and power to other countries in ASEAN to further progress that fulfills its commercial and trade cooperation at the regional level. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | จีนในระบบเศรษฐกิจโลก | en_US |
Appears in Collections: | CSI-CHAWE-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KAMOLTIP SUKKAEW.pdf | 2.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.