Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1824
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีสมร พุ่มสะอาด | - |
dc.contributor.author | ชุลีภรณ์ ดีเมือง | - |
dc.date.accessioned | 2023-07-21T08:08:50Z | - |
dc.date.available | 2023-07-21T08:08:50Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1824 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่อง การบวกและการลบ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อประเมินทักษะการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ของนักเรียนจากการใช้ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบ โดยใช้รูปแบบการแก้ปัญหาของโพลยา 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที มีต่อการใช้ ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน บ้านท่าด้วง อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 30 คน เครื่องมือที ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบ 3) แบบทดสอบการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ จำนวน 20 ข้อ 4) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียน ทีมีต่อชุดฝึกทักษะ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทดลองการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่า ร้อยละ ค่าเฉลีย ( x̅) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยการทดสอบ t-test ผลการวิจัยพบว่า ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบ สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.30/86.03 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 นักเรียนทีเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาก่อนเรียนและหลัง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 80.03 และค่าเฉลี่ยร้อยละหลังเรียน 92.83 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้ชุดฝึกทักษะการ แก้ปัญหาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย= 84.58) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีความ พอใจมากที่สุดทุกรายการ (กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา Poly, 1957, pp.16-17) | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | en_US |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน -- ไทย | en_US |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- วิจัย | en_US |
dc.title | การพัฒนาชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่อง การบวกและการลบโดยใช้รูปแบบการแก้ปัญหาของโพลยา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 | en_US |
dc.title.alternative | The Development of worksheet kids on mathmatical problem solving skills in addition and subtraction of grade 3 students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The aims of this research were to 1) develop of worksheet kits on mathematic problem solving skill in addition and subtraction of grade 3 students 2) compare the mathematic achievement between before and after of using the worksheet kits on mathematic problem solving skill in addition and subtraction of grade 3 students and 3) to evaluate the satisfaction of 30 grade 3 students in Baanthaduang School, Nongbhai district, Petchaboon province towards Polya’s procedure for mathematic problem solving skill in addition and subtraction. The instruments used in this research were as followed: 1) worksheet kits on mathematic problem solving skill 2) worksheet kits on mathematic problem solving skill in addition and subtraction –based learning plan 3) mathematic problem solving test which consist of 20 items, and 4) Questionnaire on the satisfaction of student towards the worksheet kits Data from learning activities testing was analyzed by using t-test, and presented in term of mean ( x̅) and standard deviation (S.D.). The results were as followed: The efficiency of E1/E2 of worksheet kits on mathematic problem solving skill in addition and subtraction was 80.93/92.83 that higher than criterion profile (80/80). The mathematic achievement of the students between before and after using worksheet kits on mathematic problem solving skill in addition and subtraction showed that higher score from before using as 80.93 and 92.88, respectively. Satisfaction of the students towards using worksh x̅̅= 84.58). When considered for each item was showed that the satisfaction of the student was at highest level (Polya’s procedure for mathematic problem solving, 1957, pp. 16-17) | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
CHULEEPORN DEEMUENG.pdf | 2.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.