Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1907
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำอ้อย ภักดีวงศ์, วารินทร์ บินโฮเซ็น-
dc.contributor.authorสุภาณี แสงกระจ่าง-
dc.date.accessioned2023-08-18T05:56:41Z-
dc.date.available2023-08-18T05:56:41Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1907-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อน-หลัง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมสุขภาพ นํ้าหนัก และภาวะสุขภาพของผู้เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม โดยใช้ทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของแบนดูราเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเป็นผู้เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม จำนวน 37 ราย แบ่งเป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มทดลองที่ได้รับกิจกรรมตามโปรแกรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามมาตรฐาน กลุ่มละ 17 รายและ 20 รายตามลำดับ เก็บข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมสุขภาพ นํ้าหนัก และภาวะสุขภาพที่วัดจากความปวด อาการข้อฝืด/ขัด และข้อจำกัดความสามารถทางกาย ก่อนและหลังได้รับโปรแกรม 12 สัปดาห์ วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย Chi-square, Paired t-test, Independent t-test, Wilcoxon Signed Rank test และ Mann Whitney U-test ผลการวิจัยพบว่า หลังได้รับโปรแกรม 12 สัปดาห์ กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น และความปวดลดลงกว่าก่อนการทดลอง และดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p = .000 นอกจากนี้ ยังพบว่า กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมสุขภาพดีกว่า ความปวด นํ้าหนัก และข้อจำกัดความสามารถทางกายตํ่ากว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < .05 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนมีประสิทธิผลในการปรับปรุงพฤติกรรมสุขภาพ และภาวะสุขภาพของผู้เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectสมรรถนะ -- วิจัยen_US
dc.subjectข้อเข่าเสื่อม -- การฟื้นฟุสมรรถภาพ -- วิจัยen_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมสุขภาพ น้ำหนัก และภาวะสุขภาพในผู้เป็นข้อเข่าเสื่อมen_US
dc.title.alternativeEffects of self-efficacy promotion program on health behaviors, body weight and health status in persons with knee osteoarthritisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objective of this quasi-experimental, pretest - posttest study was to examine the effect of self-efficacy promotion program on health behaviors, body weight and health status in persons with knee osteoarthritis. Bandura’s Self Efficacy Theory was used as a conceptual framework. Seventeen and twenty persons with knee osteoarthritis were purposively selected into 2 groups, experimental and control group respectively. Health Behaviors, body weight and health status in term of pain, joint stiffness and physical function limitation were measured before and after the program. The experimental group participated the self-efficacy promotion program whereas the control group received standard care for 12 weeks. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square, Paired t-test, Independent t-test, Wilcoxon Signed Rank test and Mann Whitney U-test. The results revealed that after the program, the experimental group had significant higher health behavior score and lower pain score than those of before the program (p = .000). In addition the experimental group also had significant higher health behaviors score and lower pain score, body weight and physical function limitation than those of the control group (p < .05). Findings of this study suggest that the self-efficacy promotion program appears to be more efficiency than standard care in improving health behaviors, body weight and health status among the persons with knee osteoarthritis.en_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUPANEE SANGKRAJANG.pdf4.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.