Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1987
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพร พานิชรุทติวงศ์, พิศประไพ สาระศาลิน-
dc.contributor.authorธรณัส หล้าเตจา-
dc.date.accessioned2023-09-20T05:26:32Z-
dc.date.available2023-09-20T05:26:32Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1987-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractจากการศึกษาข้อมูลของความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมในเมืองปากน้ำโพ จังหวัด นครสวรรค ์ พบความโดดเด่นในการอยู่ร่วมกันของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมจีน จากประเพณี ตรุษจีนปากน้ำโพอันเลื่องชื่อ เป็นข้อมูลและตัวอย่างที่ดีของการอยู่ร่วมกันกับความหลากหลายทาง วัฒนธรรมอย่างสันติ โดยผู้วิจัยนำเอาทั้งสองวัฒนธรรม มาออกแบบเรื่องราวนำเสนอผ่านงานวิจัย นี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและผลิตแอนิเมชัน ที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของ เยาวชนในสังคมพหุวัฒนธรรม ผ่านกรณีศึกษา: วัฒนธรรมไทย-จีน เมืองปากน้ำโพ จังหวัด นครสวรรค์ เพื่อใช้เป็นสื่อในการให้ข้อคิด รวมไปถึงแนวการแก้ไขปัญหาอย่างสันติ พร้อมทั้งศึกษา ผลการรับรู้สื่อแอนิเมชันของกลุ่มตัวอย่าง ดำเนินการวิจัยจากการศึกษาข้อมูลและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องเพื่อออกแบบเนื้อหาเรื่องราว นำเสนอผ่านตัวละครตามกระบวนการผลิตแอนิเมชัน จนได้ ผลงานแอนิเมชันความยาวไม่เกิน 3 นาที เผยแพร่ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับชมและประเมินผล ผลจากการวิจัย ได้ผลงานแอนิเมชันที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของเยาวชนใน สังคมพหุวฒั นธรรม ผ่านกรณีศึกษา: วัฒนธรรมไทย-จีน เมืองปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ และ ผลจากการประเมินการรับรู้สื่อของกลุ่มเป้าหมายคือ เยาวชน อายุ 15-18 ปี จำนวน 30 คน อยู่ใน ระดับดี ถึง ดีมาก ซึ่งครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectแอนิเมชั่น -- การผลิตen_US
dc.subjectพหุวัฒนธรรมนิยมen_US
dc.subjectสันติวิธีen_US
dc.subjectไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- จีนen_US
dc.titleการออกแบบแอนิเมชัน เพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของเยาวชนในสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษา : วัฒนธรรมไทย-จีน เมืองปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์en_US
dc.title.alternativeAnimation design to promote the peaceful coexistence of youth in a multicultural society case study Thai-Chinese culture in Pak Nam Pho city, Nakhon Sawan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractFrom the study of the multicultural society in Pak Nam Pho Nakhon Sawan Province, it was found that there was the outstanding coexistence of Thai and Chinese cultures. According to the famous Pak Nam Pho Chinese New Year tradition, it is informative and a good example of peaceful coexistence with cultural diversity. The researcher took both cultures to design a story presented through this research with the aim of designing and producing animations that promote peaceful coexistence of youth in a multicultural society through a case study of Thai-Chinese culture in Pak Nam Pho City, Nakhon Sawan Province, and to be used as a medium to give ideas, including ways to solve peaceful problems, as well as to study the results of the perception of animation media by the sample group. The research was conducted from the study of information and relevant research to design story content presented through the characters according to the animation production process leading to the animation works which are no longer than 3 minutes in length and are disseminated to the target audience for viewing and evaluation. The research resulted in animation works that promote the peaceful coexistence of youth in a multicultural society. Through a case study of Thai-Chinese culture in Pak Nam Pho City, Nakhon Sawan Province, the results of the media perception assessment of the target group of 30 youth aged 15–18 were at a good to very good level, which covered the objectives of the researchen_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineคอมพิวเตอร์อาร์ตen_US
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
THARANAS LATECHA.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.