Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2022
Title: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันการสัมผัสฝุ่น PM2.5 ของหญิงตั้งครรภ์ที่มาใช้บริการโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี ระหว่างเดือนมิถุนายนพฤศจิกายน 2564
Other Titles: Relationship between health literacy and health behavior toward prevent exposure to pm 2.5 among pregnant women who attended at one of the hospital in Ppathum Thani province between June-November 2021
Authors: สุภางค์พิมพ์ รัตตสัมพันธ์
ชนินทร รัตตสัมพันธ์
นิธินันท์ ศิรบารมีสิทธิ์
Keywords: พฤติกรรมสุขภาพ;สตรีมีครรภ์ -- การดูแลตนเอง -- พฤติกรรม -- ไทย -- ปทุมธานี;ฝุ่น -- การป้องกัน -- วิจัย
Issue Date: 2563
Publisher: สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: รายงานการวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันการสัมผัสฝุ่น PM2.5 ของหญิงตั้งครรภ์ เป็นการวิจัยเชิงพรรณานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความ รอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันการสัมผัสฝุ่น PM2.5 ของหญิงตั้งครรภ์ วิธีการ: กลุ่มตัวอย่าง เป็นหญิงตั้งครรภ์ปกติ อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ที่มารับบริการฝากครรภ์ โรงพยาบาลปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี จํานวน 425 ราย ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพที่พัฒนาโดยผู้วิจัยตามกรอบแนวคิดของ Sorensen และคณะ (2012) และแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันการสัมผัสฝุ่น PM2.5 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความ รอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (Mean =3.59, SD=0.57; Mean=3.82, SD=0.59 ตามลําดับ) ความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติ (r 784, p<.001) สรุป: ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม สุขภาพ ดังนั้นพยาบาลควรจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยเน้นการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อให้เกิดการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทําให้หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันการสัมผัสฝุ่น PM2.5 มากขึ้น
metadata.dc.description.other-abstract: This correlation descriptive research aimed to investigate the relationship between health literacy and health behavior toward the prevention of exposure to PM2.5 among pregnant women. The purposive sample included 425 normal pregnant women, aged 20 or more, who had attended the antenatal clinic at Pathum Thani Hospital, Pathum Thani Province, between June to November 2021. The research instruments comprised demographic data form, a health literacy questionnaire developed by the researcher using the framework by Sorensen et al. (2012), and a questionnaire on the health behavior of pregnant women. Descriptive statistics and Pearson's correlation coefficient were used for data analysis. The results showed that the health literacy and health behavior of the samples were at a moderate level (Mean =3.59, S.D=0.57 and Mean=3.82, SD=0.59, respectively) and health literacy had a positive statistically significant correlation with health behavior at a high level (r = .784, p .001). The results also demonstrated that health literacy is associated with health behavior. Thus, the nurse should provide health promotion activities that focus on promoting health literacy to modify health behavior that increases the prevention of exposure to PM2.5 among pregnant women.
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2022
metadata.dc.type: Other
Appears in Collections:Nur-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUPHANGPHIM RATTASUMPUN.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.