Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2034
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย เล็กเจริญ-
dc.contributor.authorพิมพ์อชิตา อัครเมธายุทธ-
dc.date.accessioned2023-10-25T07:24:21Z-
dc.date.available2023-10-25T07:24:21Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2034-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สท.ม. (เทคโนโลยีสื่อสังคม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมการใช้งานระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลบนแอปพลิเคชัน My RTARF ของข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย และเพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้งานระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลบนแอปพลิเคชัน My RTARF ของข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทยที่ใช้งานระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลบนแอปพลิเคชัน My RTARF จำนวน 327 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ และโมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลความสัมพันธ์ที่เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน 2) ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ในการใช้งาน 3) ด้านทัศนคติ 4) ด้านพฤติกรรมการใช้งาน สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี โดยพิจารณาจากค่าสถิติ ไค-สแควร์ (χ²) = 243.65, ค่าองศาอิสระ (df) = 144, ค่า CMIN/df = 1.69, ค่า GFI = 0.93, ค่า AGFI = 0.90, ค่า SRMR = 0.04, และค่า RMSEA = 0.05 และค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ = 0.74 แสดงว่าตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการใช้งานระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลบนแอปพลิเคชัน My RTARF ได้ร้อยละ 74 พบว่า ด้านทัศนคติ มีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการใช้งานระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลบนแอปพลิเคชัน My RTARF ของข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทยen_US
dc.language.isootheren_US
dc.subjectกองบัญชาการกองทัพไทย -- การปฏิบัติงาน -- วิจัยen_US
dc.subjectแอปพลิเคชัน My RTARFen_US
dc.subjectการบริหารงานบุคคล -- การใช้เครื่องจักรกลen_US
dc.subjectการจัดการทรัพยากรมนุษย์en_US
dc.titleปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้งานระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลบนแอปพลิเคชัน My RTARF ของข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทยen_US
dc.title.alternativeCausal factors affecting behavior to use of human resources management system among staff using MY RTARF application of Royal Thai Armed Forces Headquarters’s staffen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to develop and validate causal relationship model of behavior to use of human resources management system among staff using My RTARF application of Royal Thai Armed Forces Headquarters’s Staff and to study causal factors affecting behavior to use of human resources management system among staff using My RTARF application of Royal Thai Armed Forces Headquarters’s Staff. This study was quantitative research. The sample group consisted of 327 people who had behavior to use of human resources management system among staff using My RTARF application of Royal Thai Armed Forces Headquarters’s staff. The tools used in the research were online questionnaires. The statistics used in data analysis were the frequency, percentage and the structural equation model. The results of the research showed that the causal relationship model of variables consisting of 4 components was 1) perceived ease of use, 2) perceived usefulness, 3) attitude, 4) use behavior and model developed in accordance with empirical data. The statistics showed the Chi-square statistics goodness fit test (χ²) = 243.65, degrees of freedom (df) = 144, CMIN/df = 1.69, GFI = 0.93, AGFI = 0.90, SRMR = 0.04, RMSEA = 0.05. The final was predictive coefficient of 0.74, indicating that the variables in the model can explain behavior to use. The human resources management system among staff using My RTARF application of Royal Thai Armed Forces Headquarters’s staff 74 percent, and attitude influences behavior to use. Human resources management system among staff using My RTARF application by Royal Thai Armed Forces Headquarters’s staffen_US
dc.description.degree-nameสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineเทคโนโลยีสื่อสังคมen_US
Appears in Collections:ICT-SMT-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PIMACHITA AKKARAMAYTHAYUT.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.