Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2042
Title: กรอบโครงร่างการบริหารจัดการสารสนเทศแบบอัตโนมัติของโรงเรียนอัจฉริยะ
Other Titles: Automated information management framework of smart school
Authors: สมชาย บัวรุ่ง
metadata.dc.contributor.advisor: ปณิธิ เนตินันทน์
มีนนภา รักษ์หิรัญ
Keywords: ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ -- การบริหาร;โรงเรียน -- การบริหาร;นวัตกรรมทางการศึกษา;การสื่อสารทางการศึกษา
Issue Date: 2565
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การบริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์เป็นแพลตฟอร์มทรงพลังที่ส่งผลกระทบต่อการใช้ ชีวิตประจำวันอย่างมาก อีกทั้งทำให้เกิดการพัฒนาระบบและการบริหารจัดการระบบที่เข้าถึงได้ อย่างง่ายและมีประสิทธิภาพมากขึ้น การพัฒนาและการบริหารจัดการของระบบและซอฟต์แวร์ที่ ซับซ้อนสามารถทำให้ง่ายขึ้นด้วยการลดจำนวนการตัดขวางส่วนที่สนใจและความสัมพันธ์ สารสนเทศที่สับสน ทั้งนี้การออกแบบสามารถทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้โดยการเพิ่มความเป็นโม ดูลาร์ของบริการสารสนเทศด้านการศึกษาและความยืดหยุ่นของส่วนประกอบด้านบริการ หลากหลาย เมื่อใดก็ตามที่มีความก้าวหน้าในระบบสารสนเทศและการบริการด้านการศึกษาจำต้อง มีการออกแบบและการพัฒนาที่หลากหลายต้องแก้ปัญหา การค้นพบจากการศึกษานี้แสดงให้เห็นถึง รูปแบบใหม่สำหรับกรอบสารสนเทศด้านการศึกษา ซึ่งประกอบด้วยชั้นข้อมูลหลายมิติและแนวทาง เชิงลักษณะ ตลอดวงจรชีวิตการพัฒนาซอฟต์แวร์ทั้งด้านการศึกษาและสารสนเทศ ความหมายเชิง ฟังก์ชันและการจัดวางองค์ประกอบเชิงส่วนประกอบถูกนำมาใช้ในการออกแบบและพัฒนา ซอฟต์แวร์เพื่ออัตโนมัติโดยทำให้มีความเข้าใจที่ดีขึ้นในด้านความสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ความสามารถปรับเปลี่ยน และการบูรณาการสารสนเทศแบบหลายมิติสำหรับการใช้งานจริงเชิง ส่วนประกอบด้านการศึกษา ระบบสารสนเทศ และการบริการ การค้นพบนี้ประเมินและแสดงให้ เห็นโมเดลการออกแบบที่ช่วยเพิ่มโครงสร้างและความเป็นโมดูลาร์เชิงความหมาย การปรับเปลี่ยน ผ่านการออกแบบอย่างละเอียด และการนำกลับมาใช้ใหม่เชิงส่วนประกอบ ความสำเร็จของระบบ สารสนเทศเพื่อการศึกษาสามารถกำจัดส่วนประกอบซอฟต์แวร์ที่ซ้ำซ้อนได้ร้อยละ 38.76 เมื่อเทียบ กับการพัฒนาซอฟต์แวร์ตามการกำหนดทิศทางเชิงวัตถุ
metadata.dc.description.other-abstract: Electronic information services are powerful platforms that significantly impact daily life and make system development and administration more easily accessible and efficient. The development and management of complex software and systems can be made simpler by reducing the number of crosscutting concerns and complex information relationships. The designs can be accomplished by increasing the dimensional information modularity of educational information services and the component flexibility of those services. Whenever there are advancements made to educational information systems and services, there is bound to be a multitude of designs and developments that need to be tackled. The findings of this study suggest a new model for educational information frameworks, one composed of multidimensional information layers and an aspectoriented approach. Throughout the education and information software development life cycle, functional semantics and component composition are utilized in software design and development to automate the provision of improved comprehension, reusability, adaptability, and multidimensional information integration for the practical application of educational components, information systems, and services. The findings demonstrate and evaluate a design model with increased structuring and semantic modularity, adaptation via fine-grained design, and component reuse. This accomplishment of the educational information system eliminates redundant software components with 38.76 percent compared to the software development based on the object orientation
Description: ดุษฏีนิพนธ์ (ปร.ด. (เทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565
metadata.dc.description.degree-name: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาเอก
metadata.dc.contributor.degree-discipline: เทคโนโลยีสารสนเทศ
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2042
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:ICT-IT-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SOMCHAI BUAROONG.pdf15.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.