Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2085
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชาญชัย จิวจินดา | - |
dc.contributor.author | กชกร อนุสรณ์พานิช | - |
dc.date.accessioned | 2023-11-13T07:31:33Z | - |
dc.date.available | 2023-11-13T07:31:33Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2085 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยคือ1)เพื่อศึกษานโยบายการเป็นธนาคารเพื่อสังคม ของธนาคารออมสิน 2)เพื่อศึกษาการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้รับบริการในนโยบายการเป็น ธนาคารเพื่อสังคมของธนาคารออมสิน 3)เพื่อสร้างนิยามความหมายใหม่ของของธนาคารเพื่อ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและตัวแบบธนาคารในการผลักดันเชิงนโยบายต่อแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติในเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากวิธีการศึกษาจะเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการทบทวนเอกสาร แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เจาะลึก (In-Depth Interview) 5 กลุ่ม คือ ผู้บริหาร นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ นักกฎหมายและประชาชนทั่วไป จำนวน 10 คน ผลการศึกษาพบว่า ธนาคารออมสินเป็นธนาคารเพื่อสังคมเต็มรูปแบบ มีการพัฒนา ก้าวหน้าขึ้นกว่ากรามินแบงค์และมีการวางหลักเกณฑ์ที่ตอบโจทย์การทำธุรกิจได้ด้วย เช่น การมี ข้อกำหนดไม่พิจารณาสินเชื่อให้ธุรกิจที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การให้คนรายย่อยเข้าถึงแหล่ง เงินทุนและสามารถนำมาเป็ นเครดิตให้รายย่อยได้ในอนาคต เป็ นต้น การวางสถานะนี้ทำให้ ธนาคารเป็นการดำเนินงานแบบ Development Bank คือ ธนาคารที่ทำธุรกิจเพื่อกำไรแต่ใน ขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาสังคมและตอบแทนสังคม และเป็นแนวทางหนึ่งของการประกอบธุรกิจ แต่แนวทางและนโยบายมุ่งเน้นการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมและเป็ นการช่วยพัฒนาระบบ เศรษฐกิจแบบฐานราก และ เป็นการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมได้ อาจจะมีการพัฒนาตัวแบบและ การดำเนินงานของธนาคารตาม GABV Model ให้มีการดำเนินงานที่สูงกว่าการประเมินในระดับที่ 3 คือการพัฒนาให้มีการดำเนินงานธนาคารที่ยั่งยืนให้สูงถึงระดับที่ 4 และ 5 นั่นคือ มีการคำนึงถึง สิ่งแวดล้อมและการลดภาวะโลกร้อนในการประกอบธุรกิจไปพร้อมกันด้วย | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ธนาคารออมสิน -- การบริหาร | en_US |
dc.subject | ธนาคารออมสิน -- สินเชื่อ | en_US |
dc.subject | เศรษฐกิจฐานราก -- การขับเคลื่อน | en_US |
dc.subject | คุณภาพชีวิต -- การมีส่วนร่วมของประชาชน | en_US |
dc.title | ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงเศรษฐกิจและสังคม | en_US |
dc.title.alternative | Government Savings Bank: the bank to promote the better quality of life in economic and social conditions | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this study were: 1) to examine the Government Savings Bank's policy as a bank for society; 2) to study how this policy has improved customers' quality of life; and 3) to develop a new definition of an economic and social development bank and a banking model to guide policy toward the creation of grassroots economic development in accordance with the national economic and social development plan. The qualitative research involves reviewing documents, theoretical ideas, and related studies, as well as conducting in-depth interviews with a total of ten individuals from five different groups: executives, academics, officers, attorneys, and the general public. The results demonstrated that The Government Savings Bank is a fullyfunctioning social bank. It is more developed than Gramin Bank and has established criteria that can also meet the needs of conducting business, such as a requirement not to consider loans to businesses that are not environmentally friendly, providing small people with access to funding sources that can be used for retail credit in the future, etc. This positioning enables the bank to function as a development bank, i.e., a bank that does business for profit while also developing society and contributing to society. It is also a method of doing business, but the standards and principles emphasize decreasing social inequality and contributing to the development of a basic economic system. There may be development of the model and operation of the bank in accordance with the GABV Model to have operations that are higher than the assessment at level 3, i.e., developing a sustainable banking operation to levels 4 and 5 that simultaneously considers the environment and reduces global warming. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KODCHAKORN ANUSONPHANIT.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.