Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2088
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธัชกร ธิติลักษณ์ | - |
dc.contributor.author | ปณิธาน สุขสำราญ | - |
dc.date.accessioned | 2023-11-13T07:38:35Z | - |
dc.date.available | 2023-11-13T07:38:35Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2088 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาฉากทัศน์การเข้าถึงบริการทางการเงิน ระบบ สถาบันการเงินในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาความเหลื่อมล้ำ ในการให้บริการทางการเงินของสถาบัน การเงินและสหกรณ์ และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบสหกรณ์ที่จะช่วยแก้ปัญหาความ เหลื่อมล้ำทางการเงินในระบบสหกรณ์เพื่อที่จะช่วยยกระดับการเข้าถึงบริการทางการเงินของ ประชาชนระดับฐานราก โดยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Methodology) โดยการ ทบทวนวรรณกรรม รูปแบบฉากทัศน์ของสถาบันการเงิน บทบาทของสถาบันการเงิน บทบาทของ สถาบันการเงินประเภทสหกรณ์โดยข้อมูลเหล่านั้นจะรวบ รวมสังเคราะห์จากตำรา บทความ งานวิจัย เอกสารราชการ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การสนทนา การสนทนากลุ่ม ข้อมูลจากการ ประชุมที่ผู้วิจัยได้เป็นกรรมการ คณะทำงาน หรือได้เข้าร่วมดำเนินการ การสัมภาษณ์บุคคลที่มี ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่ทำ วิจัย ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน ผู้บริหารสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ด้าน สหกรณ์ และผู้เชี่ยวชาญด้านสหกรณ์ และการเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม การแสวงหาแนวทาง เพื่อกำหนดนโยบายการลดความเหลื่อมล้ำทางการเงินระหว่างสหกรณ์ที่มีสภาพคล่องเหลือและ สหกรณ์ที่ขาดแคลนเงินทุน รวมทั้งกิจกรรมที่จะนาไปสู่การกำหนดแนวทางการพัฒนาระบบ สหกรณ์ในการลดความเหลื่อมล้ำทางการเงินและช่วยให้ประชาชนฐานรากเข้าถึงบริการทางการเงิน ได้มากขึ้น พบว่า ปัญหาเชิงโครงสร้างของระบบสหกรณ์ คือ การก่อตั้งสหกรณ์แต่ละแห่งมาจาก การรวมตัวของสมาชิกที่มีคุณลักษณะ อาชีพ รายได้ ที่เหมือนกัน ทำให้มีระดับได้ราย ความต้องการ เงินเงินทุนที่คล้ายคลึงกัน ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องมีสถาบันการเงินสหกรณ์รูปแบบใหม่ขึ้นมาเพื่อ เป็นศูนย์กลางทางการเงินสหกรณ์ ซึ่งการวิจัยได้จัดทำข้อเสนอแนวคิดศูนย์กลางทางการเงิน สหกรณ์ ซึ่งมีองค์ประกอบ รูปแบบธุรกรรม ความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง การกำกับธรรมา ภิบาลที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากความสอดคล้องกับหลักการสหกรณ์ ความเสี่ยงต่อระบบการเงิน และสอดคล้องกับสถาบันการเงินอื่นที่มีคุณลักษณะคล้ายกัน | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สหกรณ์ -- การเงิน | en_US |
dc.subject | บริการทางการเงิน | en_US |
dc.subject | การเงิน -- การจัดการ | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบสหกรณ์เพื่อยกระดับการเข้าถึงบริการทางการเงิน | en_US |
dc.title.alternative | Development of a cooperative system to enhance financial inclusin | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purpose of this research is 1) to study and provide financial system and financial inclusion landscape in Thailand, 2) to study inequality and financial gap among financial institution and in cooperative system and 3) to study the guidelines for the development of the cooperative system that will help to solve the financial cooperative system inequality problem, in order to enhance poor people's access to financial services. This research employed qualitative methodology by reviewing studies and research regarding financial institutions landscape, the role of financial institutions, and the role of cooperative financial institutions. The data were gathered and synthesized from textbooks, articles, research papers, government documents and related laws together with discussions, group discussions, and information from meetings in which the researcher has served as a committee or working group or has participated in the operation. Besides, the researcher gathered the data from the interview with the stakeholders of the research including financial experts, cooperative executives, cooperative staff, and cooperative experts to provide the information concerning the participation, the policies to reduce financial inequality between liquidity surplus and underfunded cooperatives as well as activities leading to the formulation of guidelines for the development of the cooperative system to reduce financial inequality and help poor people access more financial services. This research revealed that the problem was caused by from the structure of cooperative systems in which each cooperative is founded by a combination of members with the same attributes, occupations, and incomes, resulting in the same level of income and need for capital. Therefore, it is necessary to establish a new type of cooperative financial institution as a cooperative financial center. This research proposed a guideline of the concept of a cooperative financial center which includes the elements of transaction format, risk management, appropriate, and good governance by considering the consistency with cooperative principles, risks to the financial system and consistency with other financial institutions with similar characteristics | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PANITHAN SUKSAMRAN.pdf | 1.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.