Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรวรัญช์ องคสิงห-
dc.contributor.authorกิตติยา ระวะนาวิก-
dc.date.accessioned2023-11-18T04:26:17Z-
dc.date.available2023-11-18T04:26:17Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2094-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาศึกษากระบวนการ องค์ประกอบและปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นของนวัตกรรมการบริหารจัดการเพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษานวัตกรรมการบริหารจัดการเพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาท้องถิ่น โดยการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีวิธีการศึกษาวิจัยประกอบด้วย 1) การศึกษาจากข้อมูลเอกสาร 2) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก 3) สนทนากลุ่มย่อยกับกลุ่มผู้ปฏิบัติและประชาชนในพื้นที่ และใช้วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลจานวนทั้งสิ้น 45 คน ผลจากการศึกษา พบว่า นวัตกรรมการบริหารจัดการเพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาท้องถิ่นมีต้นทุนทางสังคมสำคัญเป็นสิ่งที่ผลักดันให้เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชนเป็นการร่วมกลุ่ม การสร้างเครือข่าย การประสานงานทั้งภายในและภายนอกชุมชนสร้างเสริมพลังในชุมชน เกิดเศรษฐกิจและสังคมดีขึ้น นวัตกรรมการบริหารจัดการเพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชน ผู้นำที่เป็นทางการและผู้นำที่ไม่เป็นทางการมีวิสัยทัศน์การแก้ไขปัญหาในทุกมิติ บูรณาการในการบริหารงาน เกิดจากความไว้วางใจกันและกัน โดยเน้นการใช้ทรัพยากรภายในชุมชนสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ เกิดการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผนเกิดขึ้นในชุมชน และการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม อบต. ในแต่ละพื้น เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อม โปร่งใส ตรวจสอบได้จนประสบความสำเร็จพร้อมเป็นแบบอย่างที่ดีอย่างยั่งยืนen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการพัฒนาท้องถิ่นen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของชุมชนen_US
dc.subjectการบริหารจัดการ -- การมีส่วนร่วมของชุมชนen_US
dc.titleนวัตกรรมการบริหารจัดการเพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาท้องถิ่นen_US
dc.title.alternativeInnovation of management for community participation in local developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this dissertation were 1) to study the process, components, and obstacles originating from the management innovation for community participation in local development, and 2) to study the management innovation for community participation in local development. This research is a qualitative research study conducted through the research methods comprising 1) documentation study, 2) in-depth interview, and 3) small group discussion with practitioners and people in the area, totaling 45 informants, via the use of participant observation. The results revealed that the management innovation for community participation in local development met a significant social cost driving community participation. Besides, it was considered as a group, a network, and a coordination of within and outside the community to build empowerment in the community, contributing to better economy and society. In terms of the management innovation for community participation, formal and informal leaders had a vision of resolving problems in all dimensions, integration of management, leading to mutual trust by emphasizing the use of resources within the community to create innovations, resulting in collaboration and planning that took place in the community, and participatory and non-participatory public administration. The Subdistrict Administrative Organization in each area provided opportunities for people to participate in community development directly and indirectly with transparency and verifiability, leading to success and a sustainable role modelen_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมืองen_US
Appears in Collections:CSI-LSBP-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KITTIYA RAVANAVIK.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.