Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2113
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทรงวุฒิ ดีจงกิจ-
dc.contributor.authorเบญจมาศ มั่นซิ้ว-
dc.date.accessioned2023-11-30T03:35:41Z-
dc.date.available2023-11-30T03:35:41Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2113-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการโลจิสติกส์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร์และปัจจัยกิจกรรมด้านโลจิสติกส์ทั้ง 5 ด้าน (ด้านการบริการลูกค้า ด้านคุณภาพสินค้า ด้านช่องทางการชำระเงิน ด้านบรรจุภัณฑ์และฉลาก และด้านการรับรู้ข้อมูลตัวสินค้า) ที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารและเครื่องดื่มที่ทำจากพืชของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ และการทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติไค สแควร์ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารและเครื่องดื่มที่ทำจากพืชของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษาสูงสุด และรายได้ต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารและเครื่องดื่มที่ทำจากพืชของผู้บริโภค แต่พฤติกรรมในด้านความถี่ในการเลือกซื้อต่อสัปดาห์ มีความสัมพันธ์เพียงรายได้ต่อเดือนเท่านั้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ และผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านกิจกรรมโลจิสติกส์ทั้ง 5 ด้าน กับพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารและเครื่องดื่มที่ทำจากพืชของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า การบริการลูกค้า คุณภาพสินค้า ช่องทางการชำระเงิน บรรจุภัณฑ์และฉลาก และการรับรู้ข้อมูลตัวสินค้า มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารและเครื่องดื่มที่ทำจากพืชของผู้บริโภค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectผู้บริโภค -- การตัดสินใจ -- กรุงเทพมหานครen_US
dc.subjectอาหารเพื่อสุขภาพen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมในการเลือกซื้ออาหารและเครื่องดื่มที่ทำจากพืชของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeFactors influencing consumer behaviour for purchasing plant-based food and beverage in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this study was to investigate the demographic and logistics activity factors in five areas (customer service, product quality, payment methods, packaging and labeling, and product information perception) that influence Bangkok consumers' purchasing behavior of plant-based foods and beverages. The participants were 400 people. The research instrument for the data collection was a questionnaire. Frequency, percentage and hypothesis testing with chi-square statistics were used for the data analysis. The results towards the testing revealed that regarding the relationship between demographic factors and consumer purchasing behavior of plant-based food and beverages in Bangkok, the results indicated that sex, age, occupation, and educational level were the strongest predictors, while monthly income was related to consumer purchasing behavior. However, the relationship between weekly purchase frequency and solely monthly income was statistically significant at the 0.05 level, supporting the hypothesis. It also showed that the relationship between the five factors of logistics activities and the purchasing behavior of plant-based food and beverages of consumers in Bangkok revealed that customer service, product quality, payment channels, packaging and labeling, and perception of product information were related to consumer's purchasing behavior of plant-based food and beverages, which was statistically significant at the 0.05 level, confirming the original hypothesisen_US
dc.description.degree-nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการจัดการโลจิสติกส์en_US
Appears in Collections:Grad-ML-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
BENJAMAS MUNSIEW.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.