Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธรรมวิทย์ เทอดอุดมธรรม-
dc.contributor.authorโสรัตน์ กลับวิลา-
dc.date.accessioned2023-11-30T06:39:15Z-
dc.date.available2023-11-30T06:39:15Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2116-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม)) มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การดำเนินงานตามกรอบอำนาจหน้าที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องคดีตามกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และ เพื่อวิเคราะห์และเสนอรูปแบบการบริหารจัดการที่เหมาะสมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องคดีตามกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยแบบ เชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบบเจาะจง ที่เป็นกลุ่มผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และประชาชนที่เคยใช้บริการ จำนวน 21 คน และใช้การสัมมนาอิงกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในด้านกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ของหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย จำนวน 15 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) การวิเคราะห์การดำเนินการตามกรอบอำนาจหน้าที่มีการสรุปผลการดำเนินการที่ผ่านมาและสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละประเด็น 6 ประเด็น คือ ข้อมูลทั่วไป ที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร การนำข้อพิพาทเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ย กระบวนการแต่งตั้งผู้ไกล่เกลี่ย การดำเนินการไกล่เกลี่ย การกำหนดรูปแบบการประนอมข้อพิพาท และ การติดตามผลการปฏิบัติตามข้อตกลงของการประนอมข้อพิพาท ในภาพรวมการดำเนินการเป็นไปตามแนวทางที่กฎหมายกำหนด แต่พบปัญหาจากการขั้นตอนในการดำเนินการที่มาก และปัญหาด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถของผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นปัญหาหลักในการดำเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชน 2) การวิเคราะห์และเสนอรูปแบบการบริหารจัดการที่เหมาะสม แบ่งการวิเคราะห์เป็น 5 ประเด็น ประกอบด้วย ด้านการวางแผน ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการประสานงานเครือข่ายยุติธรรมชุมชน ด้านการควบคุม และ ด้านการจัดหาทรัพยากรในการบริหารจัดการ ข้อเสนอแนะ ผลการวิเคราะห์การดำเนินการและการบริหารจัดการตามกรอบอำนาจหน้าที่ แบ่งออกเป็น 3 ประเด็น คือ ประเด็นแรกข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในการดำเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่ประกอบด้วยปัญหาจากข้อกฎหมาย โครงสร้างของหน่วยงานรัฐที่ไม่สนับสนุนการดำเนินการ การกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินการจัดตั้งศูนย์ไกล่เกลี่ย ประเด็นที่สองข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประเด็นปัญหาด้านการบริหารจัดการ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และด้านงบประมาณ และประเด็นที่สามข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาความเชื่อมั่นของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชน และได้นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทั้งสามประเด็นด้วยการพัฒนาระบบแพลตฟอร์มสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชนในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ( i Mediations) มาสนับสนุนงานการจัดการไกล่เกลี่ยen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการไกล่เกลี่ยขัอพิพาท -- กรุงเทพมหานครen_US
dc.subjectการประนีประนอม (กฎหมาย)en_US
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ -- ไทยen_US
dc.titleการใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องคดีในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeThe use of the restorative justice process to settle disputes prior to the lawsuit in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe research aimed to analyze the procedures according to the authority framework of the mediation of disputes before prosecution by the restorative justice process in Bangkok and to analyze and propose appropriate management styles for the mediation of disputes before prosecution by the restorative justice process in Bangkok. Qualitative research was employed using in-depth interviews with 21 specific key informants: executives, operation officers responsible for the mediation of disputes, and people who used the services. The connoisseurship was also used with a group of 15 experts involved in the restorative justice process of law enforcement agencies. The results revealed that 1) the analysis of the procedures based on the authority framework with the summarization of the results of previous procedures and occurring problems was divided into six issues, namely general information related to the public-sector dispute mediation center in Bangkok, bringing disputes into the mediation, designation process of mediators, the procedure of mediation, determining the pattern of conciliation, and monitoring the procedure of the conciliation agreement. Overall, the procedures were on track as prescribed by law. However, there were redundant implementation processes, and the main problem was a lack of knowledge, skills, and ability of mediators in the mediation process of the public-sector dispute mediation center. 2) Analysis and proposition of appropriate management styles were divided into five issues: planning, public relations, coordinating with community justice networks, controlling, and procurement of resources in management. The recommendations for analyzing procedures and management according to the authority framework are divided into three issues: the first issue is the problem in the mediation of disputes consisting of the problems from the law, the structures of government agencies that are inappropriate to the procedures, and the strategies for establishing a mediation center. The second point is the problem of management, human resource development, and budget problems. The last issue is the problem of confidence in public-sector dispute mediation. The recommendations are proposed to solve problems using an information technology platform called ‘i – Mediations’ to manage the public-sector dispute mediation in Bangkoken_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineอาชญาวิทยาและ การบริหารงานยุติธรรมen_US
Appears in Collections:CJA-CJA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ASSOCIATE PROFESSOR POLCE COLONEL SORAT GLUBWILA.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.