Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2131
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศนิ บุญญกุล | - |
dc.contributor.advisor | ณัฐพล ถนัดช่างแสง | - |
dc.contributor.author | วิชญ์ฐิตา ปานเนาว์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-20T02:05:34Z | - |
dc.date.available | 2023-12-20T02:05:34Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2131 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมชีวการแพทย์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลำดับความสำคัญของปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินใจจัดซื้อเครื่องมือมาตรฐานสำหรับการทดสอบเครื่องมือแพทย์ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพโดยใช้การนำกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นแบบคลุมเครือ ซึ่งผลจากการตัดสินใจเชิงกลุ่มของผู้เชี่ยวชาญพบว่า โครงสร้างของการตัดสินใจประกอบด้วยปัจจัยหลัก 7 ปัจจัย ปัจจัยย่อย 16 ปัจจัย และมีทางเลือก 4 ทางเลือก โดยปัจจัยหลักที่สำคัญที่สุดจากการพิจารณา คือ อาการชำรุดของเครื่องมือวิเคราะห์มีค่าเท่ากับ 0.2434 ตามด้วยปัจจัยผลกระทบต่อบริการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.2169 และอายุการใช้งานของเครื่อมือมาตรฐานเท่ากับ 0.1541 ตามลำดับ ซึ่งอัตราส่วนความสอดคล้องมีค่าเท่ากับ 0.03 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้ ในส่วนปัจจัยย่อย พบว่า ปัจจัยย่อยด้านเครื่องมือมาตรฐานสำรองในการใช้งานมีความสำคัญมากที่สุดที่ 0.1168 ตามด้วยปัจจัยย่อยด้านสัญญาบริการทางเทคนิคหลังการขายที่ 0.1168 และปัยจัยย่อยด้านปริมาณงานหรือความถี่ในการใช้งานเครื่องมือวิเคราะห์มีค่าเท่ากับ 0.0993 ซึ่งหลังจากได้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ตามวัตถุประสงค์แล้ว ผู้วิจัยได้ประเมินเครื่องจำลองสัญญาณชีพที่ใช้ในหน่วยงาน พบว่ามีคะแนนรวมสุทธิเท่ากับ 0.7363 จัดอยู่ในกลุ่มทางเลือก “รายการสำรองจัดซื้อทดแทนในปีงบประมาณปัจจุบัน” และการวิเคราะห์ความไวของแบบจำลองพบว่าไม่มีปัจจัยใดที่ทำให้คะแนนหรือลำดับของทางเลือกมีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า ±10% แสดงถึงความเสถียรของผลลัพธ์ในการจัดลำดับความสำคัญของแบบจำลอง โดยการศึกษาครั้งนี้ช่วยทำให้การตัดสินใจลงทุนของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพมีความโปร่งใส น่าเชื่อถือ และมีหลักการทางวิชาการรองรับ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารขององค์กรและแผนกด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ในโรงพยาบาลต่อไป | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สัญญาณชีพ -- เครื่องมือและอุปกรณ์ | en_US |
dc.subject | การแพทย์ -- เครื่องมือและอุปกรณ์ | en_US |
dc.subject | วัสดุทางการแพทย์ | en_US |
dc.subject | การตัดสินใจซื้อ | en_US |
dc.title | การตัดสินใจที่ดีที่สุดในการจัดซื้อเครื่องจำลองสัญญาณชีพกรณีศึกษากรมสนับสนุนบริการสุขภาพ | en_US |
dc.title.alternative | Optimization and decision making of vital sign simulator purchasing: a case study of Health Service Support Department | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purpose of this research was to determine the relative importance of the criteria considered in the Department of Health Service Support's decision to acquire a standard piece of equipment for medical device testing, using a fuzzy hierarchical analysis method. As a consequence of expert group deliberation, it was determined that the decision structure consisted of seven primary factors, sixteen subfactors, and four options. The most essential aspect to examine was the diagnostic device's failure rate of 0.2434, followed by the service impact factor of 0.2169 and the standard instrument's service life of 0.1541. This equaled 0.03, which was within the permissible range. Regarding the sub-factor, it was determined that the standard backup device in use was the most essential at 0.1168, followed by the after-sales technical support contract at 0.1168, and the throughput or frequency of service for the diagnostic device at 0.0993. After generating the mathematical model based on the purpose of the study, the researcher examined the department's patient simulator. The alternative group with the highest overall score, 0.7363, was "Current Fiscal Year Replacement Procurement," and a sensitivity study of the model indicated that neither the score nor the order of alternatives changed by more than ±10%. It indicates the consistency of the model's prioritizing outcomes. This research helps the Department of Health Service Support make transparent, trustworthy, and academically sound investment choices. This will further help business leaders and hospital biological engineering departments. | en_US |
dc.description.degree-name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | วิศวกรรมชีวการแพทย์ | en_US |
Appears in Collections: | BioEng-BE-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
WITTITA PANNAO.pdf | 974.86 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.