Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศนิ บุญญกุล-
dc.contributor.advisorณัฐพล ถนัดช่างแสง-
dc.contributor.authorสายชล กองทอง-
dc.date.accessioned2023-12-20T02:28:07Z-
dc.date.available2023-12-20T02:28:07Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2134-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมชีวการแพทย์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractบทความนี้ศึกษาการไหลของอากาศภายในตู้รถเข็นเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ แบบความดันลบด้วยระเบียบวิธีไฟล์ไนท์อิลิเม้นแบบ 3D โดยการศึกษาในครั้งนี้ได้จำลองลักษณะรูปทรงของตู้รถเข็นอัตราการไหลเวียนของอากาศ และ ความดันลบ ที่เหมาะสมต่อการนำไปออกแบบและการสร้างตู้รถเข็นเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจแบบความดันลบซึ่งผลจากการจำลองโมเดลของตู้รถเข็นเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจแบบความดันลบในลักษณะ 3D โดยใช้ระเบียบวิธีไฟล์ไนท์อิลิเม้นแบบ 3D ซึ่งผลจากการจำลองพบว่าในการกำหนดทิศทางการไหลเข้าและไหลออกของการไหลเวียนอากาศที่เหมาะสมตามมาตรฐานเพื่อลดความเสี่ยงในการควบคุมการติดเชื้อ ต้องไม่น้อยกว่า 12 รอบ/ชั่วโมง(ACH) ซึ่งผลการไหลเวียนของอากาศที่ได้จากการจำลองมีอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศที่ 18.25 รอบ/ชั่วโมง (ACH) ค่าความดันลบภายใน -0.29 Pa และความดังของเสียงภายใน 60.9 dB เป็นไปตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ฉบับปี 2559 ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectผู้ป่วย -- เครื่องมือและอุปกรณ์en_US
dc.subjectโรคทางเดินหายใจen_US
dc.subjectการไหลของอากาศ -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการไหลของอากาศภายในตู้รถเข็นเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจความดันลบด้วยระเบียบวิธีไฟล์ไนท์อิลิเม้นแบบ 3Den_US
dc.title.alternativeA comparative study of air flow inside a transfer cart in a patient with negative pressure respiratory disease with 3d finite element methoden_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis study investigated the air flow within the negative pressure isolation wheelchair using 3D finite element method. This study simulated the shape of the wheelchair, air flow rate, and negative pressure that were suitable for the design and building of wheelchairs for the patients with respiratory diseases. The results from the simulation showed that the proper inflow and outflow of air which would reduce the infection control risk must be at least 12 round/hour (ACH). The simulation also showed the air change rate at 18.25 round/hour (ACH), the negative pressure at -2.9 Pa, and the loudness inside the hood at 60.9 dB which followed the Air Conditioning and Ventilation Standard 2016 issued by the Engineering Institute of Thailand under His Majesty the King’s Patronage.en_US
dc.description.degree-nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineวิศวกรรมชีวการแพทย์en_US
Appears in Collections:BioEng-BE-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SAICHON KONGTONG.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.