Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2149
Title: | การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียวโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบเสริม ต่อการเรียนรู้ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 |
Other Titles: | The development of mathematics learning achievement on single variable linear inequality using scaffolding learning management of grade 9 students |
Authors: | จิรวัฒน์ พิมพ์นพพันธุ์โชติ |
metadata.dc.contributor.advisor: | เตชาเมธ เพียรชนะ |
Keywords: | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน;ความคิดรวบยอด;คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา);อสมการ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลัง เรียน ศึกษาระดับความคิดรวบยอดและศึกษาระดับความพึงพอใจในการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยวิธีการเสริมต่อการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาที่ 3 จังหวัด นนทบุรี ที่กา ลังศึกษาใน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จา นวน 1 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 48 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ 2) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 3) แบบประเมินระดับความคิดรวบยอด 4) แบบสอบถามระดับความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และค่าทดสอบสถิติ t ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดย วิธีการเสริมต่อการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนที่ใด้รับการจัดการเรียนโดยวิธีการเสริมต่อการเรียนรู้มีระดับความคิดรวบยอดทาง คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับมาก 3) ความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดย วิธีการเสริมต่อการเรียนรู้ โดยอยู่ในระดับมากที่สุด |
metadata.dc.description.other-abstract: | The purpose of this study was to compare the achievement before and after the learning of the students. To examine the conceptual level and the level of satisfaction in learning mathematics in the topics of single-variable linear inequality for grade 9 students by utilizing the scaffolding. The sample of this study was selected from grade 9 students in the secondary educational service area of Nonthaburi during the second semester of the academic year 2021. The sample being used in this study consisted of 48 students in one class. In this case, the sample was selected through the Cluster Random Sampling method. The data were analyzed by 1) the management plan of mathematical learning, 2) the educational achievement test before and after the learning of the student, 3) the conceptual level assessment and 4) the satisfaction level assessment form. Statistics used in the data analysis include the median, the standard deviation, and the statistical value t. The results of the study were as follows: 1) the student’s academic achievement was higher than before due to the use of the learning management plan of scaffolding with the statistical significance at the level of 0.52; 2) the students who received the learning management plan employing the method of scaffolding had a high level of mathematical conception; and 3) the students’ learning satisfaction towards the learning management through the method of scaffolding was at the highest level. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | หลักสูตรและการสอน |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2149 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
JIRAWAT PIMNOPPHANSHOD.pdf | 2.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.