Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2152
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเตชาเมธ เพียรชนะ-
dc.contributor.authorจักรกฤษ ยืนยิ่ง-
dc.date.accessioned2024-01-19T03:29:32Z-
dc.date.available2024-01-19T03:29:32Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2152-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน ก่อนเรียนและหลังเรียน 2) เพื่อศึกษาระดับความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน แหล่งข้อมูลงานวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 1 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 30 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ชนิดได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 3) แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลตามความมุ่งหมายของงานวิจัย ดังนี้ 1)ใช้การทดสอบค่า t แบบกลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กัน (t-test for dependent Samples) สำหรับแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 2) ใช้การหาค่าเฉลี่ย (𝑥𝑥𝑥) และส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน (S.D.) สำหรับการประเมินความคิดสร้างสรรค์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐานอยู่ในระดับดีมาก (𝑥𝑥𝑥 เท่ากับ 10.83, S.D. เท่ากับ 0.5)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการเรียนรู้ -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectการคำนวณ -- การศึกษาและการสอน.en_US
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ แบบความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeThe development of learning achievement and creative thinking using creativity based learning (CBL) on computing science in computational thinking of grade 8 studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were 1) to compare the learning achievement of grade 8 students before and after using creativity-based learning (CBL) on computing science in computational thinking; 2) to study the level of creative thinking of grade 8 students after using creativity-based learning (CBL) on computing science in computational thinking. The samples consisted of 30 students in grade 8. Cluster random sampling was used in the study. The research instruments were 1) lesson plans using creativity-based learning (CBL), 2) an achievement test, and 3) a creative thinking assessment form. The data analysis was as follows: 1) t-test for dependent samples; 2) mean score and standard deviation for a creative thinking assessment. The results revealed that 1) the post-test score of learning achievement using creativity-based learning (CBL) was significantly higher than pre-test score at .05 level of significance; 2) the level of creative thinking of grade 8 students after using creativity-based learning (CBL) was considered significantly high (𝑥𝑥𝑥 = 10.83 and S.D. = 0.5).en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
Appears in Collections:EDU-CI-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JACKKRIT YEANYING.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.