Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลลภา เฉลิมวงศาเวช-
dc.contributor.authorภัทราลี แน่นอน-
dc.date.accessioned2024-02-21T07:11:38Z-
dc.date.available2024-02-21T07:11:38Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2201-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน ขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และ 2) ศึกษาปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุนที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูโรงเรียนขนาด เล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 จำนวน 110 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐาน การวิจัยด้วยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคุณ ที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ด้านปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุนอยู่ ในระดับมาก และ 2. ปัจจัยจูงใจมีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย มีอำนาจพยากรณ์ร้อยละ 96.30 (R2 = .963) และปัจจัยค้ำจุนมีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ ครูโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีอำนาจพยากรณ์ร้อยละ 95.10 (R2 = .951)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectครู -- ความพอใจในการทำงาน -- ไทย -- ปทุมธานีen_US
dc.subjectครู -- ปทุมธานี -- ความพอใจในการทำงานen_US
dc.subjectครู -- การทำงานen_US
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2en_US
dc.title.alternativeTeachers’ motivation to work in small-school under the Pathumtani Primary Educational Service Area Office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this study were to 1) investigate teachers’ motivation to work in smallschool under the Pathumtani Primary Educational Service Area Office 2 , and 2) examine motivation factors and hygiene factors influencing teachers’ motivation to work in small-school under the Pathumtani Primary Educational Service Area Office 2 . The population of this study was 110 teachers working in small-school under the Pathumtani Primary Educational Service Area Office 2. The instrument used to gather data was questionnaire on teachers’ motivation. The statistics used in the analysis included percentage, frequency, mean, standard deviation. The hypothesis was tested using the multiple linear regression with the statistical significance level at .05 The results revealed that 1) the teachers’ motivation to work in small-school under the Pathumtani Primiary Educational Service Area Office 2 in terms of the motivation factors and hygiene factors were at high level; 2) The motivation factors had influenced the teachers’ motivation to work in small-school with the statistical significance level at .05 and the predictive power at 96.30% (R2 = .963) and the hygiene factors had influenced the teachers’ motivation to work in small-school with the statistical significance level at .05 and the predictive power at 95.10% (R2 = .951)en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการบริหารการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PATTARALEE NAENON.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.