Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2256
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อริสรา ธานีรณานนท์ | - |
dc.contributor.author | เปรมารัช วิลาลัย | - |
dc.contributor.author | อัครวัฒณ์ พิมพ์แสง | - |
dc.date.accessioned | 2024-03-20T07:34:11Z | - |
dc.date.available | 2024-03-20T07:34:11Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2256 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสอดคล้องโครงสร้างหลักสูตรกับปรัชญา วัตถุประสงค์ ส่วนประกอบของหลักสูตรและมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี ประเมินกระบวนการจัดการเรียนการสอน เนื้อหารายวิชา และ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ประเมินการประกันคุณภาพหลักสูตร ความเหมาะสมของกระบวนการ ประเมินและการปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ คณาจารย์และ ผู้บริหารคณะบัญชี มหาวิทยาลัยรังสิต บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปี 2546-2550 และมหาบัณฑิตที่ สำเร็จการศึกษาในปี 2548-2550 ผู้ใช้บัณฑิตหรือนายจ้างที่บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาไปแล้วได้ทำงาน อยู่ด้วย ผู้เรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ปี 1-2 และ ผู้เรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญา โท ปี 2554 ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิชาชีพบัญชีและด้านการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีแบบสัมภาษณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตรเนื้อหารายวิชา แบบสอบถามผู้เรียนที่กำลังศึกษาปัจจุบัน บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต และคณาจารย์เกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตรเนื้อหารายวิชา กระบวนการจัดการเรียน การสอน สภาพแวดล้อมทางกายภาพ แบบประเมินคุณภาพการสอนของคณาจารย์คณะบัญชี แบบ สัมภาษณ์ผู้บริหารคณะบัญชีเกี่ยวกับการประกันคุณภาพหลักสูตร การประเมินและปรับปรุงการ ดำเนินการของหลักสูตรวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์สาระ (Content Analysis) วิธีการคำนวณ ร้อยละ และการหาค่าเฉลี่ย ผลการวิจัย พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 5 ท่านได้มีความคิดเห็นที่สอดคล้องกันในมาตรฐานผลการ เรียนรู้ทั้ง 5 ด้านประกอบไปด้วย คุณธรรม จริยธรรม ทักษะความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนของมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัญชีมหาบัณฑิตจะเหมือนกันบัญชีบัณฑิตแต่ มีเพิ่มอีกอย่างหนึ่ง คือ ทักษะการวิจัย อาจารย์ บัณฑิตปริญญาตรี บัณฑิตปริญญาโท ผู้ใช้บัณฑิตปริญญาตรี ผู้ใช้บัณฑิตปริญญาโท ผู้เรียนที่กำลังศึกษาปี ที่ 1 ผู้เรียนที่กำลังศึกษาปี ที่ 2 ผู้เรียนที่กำลังศึกษาปี ที่ 3 และ ผู้เรียนที่กำลังศึกษาระดับปริญญาโท มีความคิดเห็นว่าโครงสร้างหลักสูตรมีความสอดคล้องกับจำนวน หน่วยกิต จำนวนชั่วโมงเรียน และเนื้อหารายวิชามีความทันสมัย สามารถบูรณาการเข้ากับศาสตร์อื่นได้ และสามารถใช้งานได้จริง | en_US |
dc.description.sponsorship | ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยรังสิต -- คณะบัญชี -- หลักสูตร -- การประเมิน | en_US |
dc.subject | หลักสูตร -- การประเมิน -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- ไทย -- การประเมินผล | en_US |
dc.title | การประเมินหลักสูตรบัญชีบัณฑิตและหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | Assessment of Undergraduate Program and Graduate Programs of Accountancy, Faculty of Accounting at Rangsit University | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this research were to 1)evaluate the course structure in terms of its consistency with the philosophy, objectives, and components of the course and the learning outcomes determined by Qualification Framework of Bachelor Degree in Accountancy, 2)evaluate teaching and learning processes, course and the physical environment, 3)evaluate assessment quality assurance program and improvement operating of course. The population and sample groups included 5 groups: a group of lecturers and administrator ‘s Faculty of Accounting at Rangsit University, a group of undergraduate students who graduated during 2003-2007 and graduate students who graduated during since in the 2005-2007:, a group of employers who have hired those graduated students, and a group of well-qualifies accountants, a group of current undergraduate and graduate students who were in their first and second year, experts in accountants and experts in higher education. The instruments were interview with well-qualified accountants, experts in accountants and experts in higher education and questionnaire lecturers and administrators of Faculty of Accounting at Rangsit University, students and employers. In which the subjects expressed their opinions toward the philosophy, objectives and components of the course and the learning outcomes determined by Qualification Framework of Bachelor Degree in Accountancy. The data were analyzed by content analysis, mean and percentage. The research found that opinions of the expert and the qualified accountants were in line with the 5 aspects of standard learning outcomes of accountant competencies: 1) moral and ethics; 2) knowledge skills; 3) intellectual and numerical analytic skills; 4) interaction and communication skills; 5) information technology usage skills; and, for the graduate students, the aspect of research skill was added. The group of lecturers and administrators of Faculty of Accounting at Rangsit University and the students viewed the course structure was practical and consistent with the philosophy, objectives and components of the course and the learning outcomes determined by Qualification Framework of Bachelor Degree in Accountancy | en_US |
Appears in Collections: | ACC-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ARISARA THANEERANANON.pdf | 701.12 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.