Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2272
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เบ็ญจรัก วายุภาพ | - |
dc.date.accessioned | 2024-03-21T08:06:13Z | - |
dc.date.available | 2024-03-21T08:06:13Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2272 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของตัวทำละลายอินทรีย์และสภาวะในการสกัดสารโพลิฟีนอลจากเมล็ดองุ่น ตัวทำละลาย 2 ชนิดที่เลือกในวิจัยนี้ได้แก่ เอทานอล และ อะซีโตน ความเข้มข้นระหว่าง 0 – 100% ภายใต้การสกัดที่อุณหภูมิห้อง และ 50oC เป็นเวลา 3 – 12 ชั่วโมง ผลการทดลองพบว่าเมื่อใช้ตัวทำละลายเอทานอลความเข้มข้น 50%(v/v) ให้ร้อยละผลได้ดีที่สุด 14.86 ภายใต้การสกัดที่ 50oC เป็นเวลา 6 ชั่วโมง สารสกัดที่ได้มีปริมาณโพลิฟีนอล 0.33 กรัม/กรัมเมล็ดองุ่น ค่า EC50 วัดโดยวิธี DPPH และ ค่า Reducing power เท่ากับ 214.6 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร และ 2.38 ตามลำดับ ค่าที่ได้นี้แสดงถึงคุณสมบัติที่ดีในการเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดที่ได้ เมื่อพิจารณาค่าใช้จ่ายในการผลิต และ ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่จะต้องไม่มีตัวทำละลายที่เป็นพิษตกค้างอยู่ ผู้วิจัยเลือกใช้สารละลายเอทานอลซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมมากกว่าสารละลายอะซีโตน ถึงแม้ว่าร้อยละผลได้จะไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อนำสารสกัดจากเมล็ดองุ่นที่ได้มาทดสอบการชะลอการเกิดกลิ่นเหม็นหืนในผลิตภัณฑ์หมูทอดเปรียบเทียบกับสารกันหืน 2 ชนิดได้แก่ BHT และ กรดแกลลิค พบว่าเมื่อใช้สารสกัดความเข้มข้น 1.6 กรัม/กรัมผลิตภัณฑ์ สามารถชะลอการเหม็นหืนในผลิตภัณฑ์หมูทอดได้โดยมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเมื่อใช้ BHT แต่ด้อยกว่ากรดแกลลิค | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สารสกัดจากพืช -- เมล็ดองุ่น -- วิจัย | en_US |
dc.subject | สารต้านออกซิเดชัน -- วิจัย | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีชีวภาพ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | สารกันหืน | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการสกัดสารต้านอนุมูลอิสระจากเมล็ดองุ่นและการประยุกต์ใช้ในอาหารทอด | en_US |
dc.title.alternative | Recovery of antioxidants from grape seeds and its application in fried food | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The efficiency of organic solvent and conditions for extractint phenolics from grape seeds was investigated. Two selected organic solvents; aqueous ethanol and acetone were studied at various concentrations between 0-100% and the extraction was performed under room temperature and 50oC for 3-12 hours. Results showed that under 50oC for 6 hours, the best recovery yield of 14.9 % was obtained with 50% (v/v) ethanol. Under this condition, the extract consisted of 0.33 (g/g grape seed) total phenol. The EC50 measured by DPPH method and reducing power were 214.6 g/mL and 2.38, respectively, This implied a high antioxidant activity of the extract. When considering the cost of operation and the safety concerns associated with solvent residue in the product, aqueous ethanol was a more appropriate solvent than aqueous acetone despite no significant difference in the recovery yield.The effect of the extract on retarding oxidative rancidity of fried pork products was compared with 2 commercial additives; BHT and gallic acid. At the concentration of 1.6 g/g product, efficiency of the extract was similar in retarding rancidity was comparable to BHT but lower than gallic acid. | en_US |
Appears in Collections: | BiT-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
BENJARUK VAYUPHARP.pdf | 1.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.