Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2276
Title: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การประเมินประสิทธิภาพของผ้าที่ใช้ทําหน้ากากปิดหน้าในการลดการสัมผัสแบคทีเรียก่อโรค ในทางเดินหายใจในห้องปฏิบัติการ
Other Titles: Evaluation of the fabric facemasks efficacy in reducing airborne transmitted bacteria exposure, in vitro study
Authors: พรรณนภา เภาทอง
Keywords: ทางเดินหายใจ -- โรค -- การป้องกัน;หน้ากาก -- วิจัย;ผ้า -- การใช้ประโยชน์ -- แง่การแพทย์;แบคทีเรีย -- การก่อโรค
Issue Date: 2562
Publisher: สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: มีการทำหน้ากากผ้าใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศกําลังพัฒนาเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อจากผู้สวมใส่ อย่างไรก็ตามยังไม่มีรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพของผ้าที่นํามาใช้ทําหน้ากากผ้ามากนัก การศึกษาในครั้ง นี้ จึงได้ทําการตรวจสอบประสิทธิภาพของผ้าที่นํามาใช้ทําหน้ากากผ้า 7 ประเภท (ผ้าที่นํามาใช้ทําหน้ากากผ้า 6 ชนิด หรือแผ่นกรองระบายอากาศ และหน้ากากอนามัย ; surgical mask) ที่สวมใส่กันทั่วไปในประเทศกําลังพัฒนา โดยใช้ แบคทีเรียที่ติดต่อได้ทางการหายใจทั้งหมด 3 ชนิด (Streptococcus pyogenes Group A, Corynebacterium diphtheria, Moraxella catarrhalis) และสารผสมของแบคทีเรียทั้ง 3 ชนิด มาประเมินประสิทธิภาพของผ้าที่นํามาใช้ทําหน้ากาก ผล การทดสอบพบว่า การใช้ผ้านาโนแบบเคลือบร่วมกับแผ่นกรองระบายอากาศมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการซึมผ่าน ของแบคทีเรียได้ดีที่สุด เมื่อผ้าที่นํามาใช้ทําหน้ากากผ้าแต่ละชนิดไปทดสอบฤทธิ์ต้านจุลชีพโดยจําลองสถาณการณ์ที่ สร้างขึ้นในห้องปฏิบัติการเหมือนกับมีละอองลอยของแบคทีเรียแพร่กระจายทางอากาศตกลงบนผ้าตามช่วงเวลา (1, 3, 6, 24 ชั่งโมงหลังการสัมผัส) และการทดสอบแบบ disk diffusion ผลการทดลองพบว่าผ้าที่ทดสอบทั้งหมดไม่มีประสิธิ ภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย และไม่พบความแตกต่างระหว่างผ้านาโนกับผ้าที่นํามาใช้ทําหน้ากากชนิดอื่น ๆ ผลการทดสอบทั้งหมดสนับสนุนการใช้ผ้าสองชั้นร่วมกับแผ่นกรองระบายอากาศ จึงจะสามารถป้องกันการ แพร่กระจายของละอองจุลินทรีย์จากการติดเชื้อไปยังผู้สวมใส่ได้และต้องใช้ร่วมกับวิธีการป้องกันที่ถูกสุขอนามัยอื่น ๆ
metadata.dc.description.other-abstract: Fabric cloth masks are widely used in developing countries to prevent the spread of infection from the wearer. However, there has not been much research on the efficacy of the fabric used to make cloth masks. This study examined the efficiency of seven types of the fabric used to make cloth masks (six types of cloth masks or laminate breathable filter and one type of surgical mask) commonly worn in the developing world. Three airborne transmitted bacteria (Streptococcus pyogenes Group A, Corynebacterium diphtheria, Moraxella catarrhalis) and mixer of these 3 tested bacteria was used to assess facemask performance. The test results showed that the use of nano coated cloth together with a breathable filter has the best with filtration efficiency. When the fabric used to make each type of fabric mask is tested for antimicrobial activity, simulating a situation created in a laboratory is like a bacterial aerosol spreading through the air, falling onto the fabric over time (1, 3, 6, 24 h. after exposure) and mimic disk diffusion test were evaluated. The results showed that all of the fabric tested were not effective at inhibiting bacterial growth. There was no difference between the nano cloth and the other mask fabric. All results supported the use of double-layer fabric cloth and laminate breathable filter can prevent the spread of microbial aerosol from infections to the wearer and it must always be used in combination with other hygienic methods of prevention
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2276
metadata.dc.type: Other
Appears in Collections:Sci-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PANNAPA POWTHONG.pdf10.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.