Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2280
Title: | การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดีย เรื่อง ภาพตัด (Section View) |
Other Titles: | A construction and efficiency validation of multimedia computer-assisted instruction for multimedia on the topic of section view |
Authors: | ชนัฏตา สินธนพงศ์ |
Keywords: | คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน -- วิจัย;สื่อการสอน -- การพัฒนา-- วิจัย |
Issue Date: | 2550 |
Publisher: | ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องภาพตัด (section view)โดยมีสมมุติฐานการวิจัยว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นสามารถใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่าก่อนเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องภาพตัด (section view) แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน กลุ่มทดลองเป็นนักศึกษาชั้นปี่ที่ 1 ของวิทยาลัยวิศวกรรม- ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ปีการศึกษา 2552 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 36 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์เพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ด้วยสูตรคำนวณทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 82.67/84.78 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานของการวิจัย และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 |
metadata.dc.description.other-abstract: | This research aimed to construct and fine the efficiency of Computer-Assisted Instruction (CAI) program and to fine learning achievement emphasizing on section view. Base on the hypothesis, the constructed CAI could normally be used more efficiently than the normal set value of 80/80, and the learning achievement was also higher after the implementation of CAI. A group of 36 first-year engineering students enrolled in the first semester of the Academic Year 2009 was selected as a trail group. The data was analyzed to obtain statistical values i.e. percentage, mean and standard deviation. The results found that the efficiency of CAI was slightly higher than the set value at 82.67/84.78 with agreed with the hypothesis and the learning achievement after the implementation of CAI was also higher with statistically significant level of 0.01 |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2280 |
metadata.dc.type: | Other |
Appears in Collections: | Eng-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
CHANATTA SINTHANAPONG.pdf | 18.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.