Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2310
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อุมาพร วิมลกิตติพงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2024-04-10T05:01:30Z | - |
dc.date.available | 2024-04-10T05:01:30Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2310 | - |
dc.description.abstract | รายงานการวิจัยเรื่องผลของเวลาและการเตรียมผิวต่อความแข็งเเรงยึดติดของวัสดุครอบฟันชั่วคราวชนิดบิสเอคริวเรซินที่ซ่อมแซมด้วยวัสดุคอมโพสิตเรซินชนิดไหลแผ่เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มุ่งศึกษาให้ทราบถึงผลของช่วงเวลาในการซ่อมแซมและการเตรียมพื้นผิวบนบิสเอคริวเรซินเมื่อยึดกับวัสดุคอมโพลิตเรซินชนิดไหลแผ่โดยประเมินค่าแรงยึดดึงเฉือนของทั้ง สองวัสดุ โดยชิ้นงานบิสเอคริวเรซิน 270 ชิ้น สุ่มแบ่งเป็น 3 กลุ่ม (n=90) ตามเวลาดังนี้ (ก) แช่ในน้ำลายเทียมที่อุณหภูมิ 37 ° C เป็นระยะเวลา 1 ชั่วโมง (ข)194 เทอร์โมไซคลิง(เทียบเท่ากับระยะเวลา 1 สัปดาห์) และ(ค) 5,000 เทอร์โมไซคลิง(เทียบเท่ากับระยะเวลา 6เดือน) โดยในแต่ละกลุ่มของช่วงเวลาที่ซ่อมแซมจะแบ่งตามการเตรียมพื้น ผิว(n=30) ดังนี้ คือ (ก)ไม่มีการเตรียมพื้นผิว (ข)การใช้หัวกรอคาร์ไบด์ทรงกระบอก และ (ค)การใช้หัวกรอคาร์ไบด์ร่วมกับใช้สารแอดฮีซีฟแอดเปอร์ซิงเกอร์บอนด์ทูภายหลังการเตรียมผิวบิสเอคริวเรซินแล้ว ฉีดวัสดุคอมโพสิตเรซินชนิดไหลแผ่บนชิ้นงานและนำไปทดสอบด้วยเครื่องทดสอบสากลด้วยความเร็วหัวดึง 0.5 มิลลิเมตรต่อนาที จากนั้น นำค่ามาวิเคราะห์สถิติความแปรปรวนสองทางและสถิติเชิงซ้อนด้วยวิธีทูกีย์ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 นำชิ้นงานที่แตกหักมาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิดสเตอริโอเพื่อแบ่งลักษณะความล้มเหลวที่เกิดขึ้นจากผลการศึกษาพบว่า การเตรียมผิวด้วยการกรอพื้นผิวด้วยหัวกรอคาร์ไบด์ร่วมกับการใช้สารแอดฮีซีฟในการซ่อมแซมบิสเอคริวเรซินด้วยคอมโพสิตเรซินชนิดไหลแผ่ให้ผลความแข็งแรงเฉือนมากที่สุดอย่างมีนัยสำคัญในทุกช่วงเวลาและพบว่าบิสเอคริวเรซินที่อยู่ในน้ำลายเทียม 6 เดือน (5,000 เทอร์โมไซเคิล)ให้ค่ายึดเฉือนน้อยที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(P<0.05) พบการแตกหักของชิ้นงานส่วนใหญ่เป็นความล้มเหลวของการยึดติด ภายใต้ข้อจำกัดของการทดลองผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ระยะเวลาในการซ่อมแซมและวิธีการเตรียมผิวที่แตกต่างกันส่งผลต่อค่าแรงยึดติดของวัสดุครอบฟันบิสเอคริวเรซินและวัสดุอุดฟันคอมโพสิตเรซินชนิดไหลแผ่ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การครอบฟัน | en_US |
dc.subject | วัสดุคอมโพสิต -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ทันตวัสดุ | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย ผลของเวลาและการเตรียมผิวต่อความแข็งเเรงยึดติดของวัสดุครอบฟันชั่วคราว ชนิดบิสเอคริวเรซินที่ซ่อมแซมด้วยวัสดุคอมโพสิตเรซินชนิดไหลแผ่ | en_US |
dc.title.alternative | Effect of time repairing and surface treatment on repair bond strength of bisacryl resin provisional restoration with flowable composite resin | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The purpose of this study is to investigate the effect of time repairing and effect of surface treatment on shear bond strength in repair of bis-acryl resin materials with flowable composite resin. A total of 270 pieces of bisacryl resin blocks were randomly divided into three groups based on storage time (n = 90):(a) no aging: storage in artificial saliva at 37 oC for 1 hour,(b) 194 thermocycling (approximately 1 week storage time)and (c) 5,000 thermocycling (approximately 6 months storage time). Each group was then randomly divided into three subgroups (n = 30) based on surface treatment: (no treatment, cylinder carbide bur only and cylinder carbide bur and Adper Single Bond 2). The repair flowable composite resin was bonded to each bisacryl resin. All samples were then subjected to shear bond strength testing under a universal testing machine with a crosshead speed of 0.5 mm./min. Data were analyzed using two-way ANOVA and Turkey’s test (P = 0.05). Mode of failure was determined under a stereomicroscope. The result shows the grinding with carbide bur combined with adhesive had significantly highest shear bond strength with both bisacryl resin and flowable composite resin in all time periods. Specimens that were stored in artificial saliva for six months (under 5,000 thermal cycle) had significantly lowest shear bond strength (P<0.05) compared to other groups. Adhesive failure was revealed to be the most predominant mode of failure under stereomicroscope. In conclusion, Both repairing time and surface treatment affected the repaired shear bond strength. | en_US |
Appears in Collections: | Den-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
UMAPORN VIMONKITTIPONG.pdf | 387.9 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.