Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2352
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรสรินทร์ ชอว์-
dc.date.accessioned2024-04-23T06:55:28Z-
dc.date.available2024-04-23T06:55:28Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2352-
dc.description.abstractโครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาของพื้นที่ชุมชนบ้านหมี่ในด้านกายภาพด้านเศรษฐกิจและสังคม จากเมื่อวานวันนี้กับวันพรุ่งนี้ โดยการรวบรวมข้อมูลทั้งระดับพื้นฐานและเชิงนโยบาย นอกจากนี้การศึกษานี้ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์แนวโน้มการเติบโตของประชากรในพื้นที่ดังกล่าว เพื่อจัดวางเพื่อรองรับความต้องการในโครงสร้างพื้นฐานสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะบ้านในชุมชนบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี กล่าวถึงในฐานะการแสดงออกทางสถาปัตยกรรมของคนพื้นถิ่นอย่างสอดคล้องกับธรรมชาติมานานหลายศตวรรษ หลักการของสถาปัตยกรรมยังคงที่จะเห็นได้ว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเป็นรูปแบบที่คำนึงถึงบริบท ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่สภาพทางภูมิศาสตร์ การมีส่วนร่วมของชาวบ้านที่เพิ่มมากขึ้นจะกลายเป็นสิ่งสำคัญที่จะพัฒนาชุมชนในประเทศไทย ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผลกระทบต่อการพัฒนาชุมชนกลายเป็นความกังวลหลัก ความเป็นอยู่ของชุมชนเป็นเหตุผลหลักในการพัฒนาที่ยั่งยืนแนวคิดชุมชนยั่งยืนเป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาและมักจะขึ้นอยู่กับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อชุมชนและสภาพแวดล้อม แนวทางพัฒนาแบบองค์รวมเพื่อความยั่งยืนต้องใช้วิธีการใหม่ในการวางแผนทางสถาปัตยกรรมการออกแบบและพัฒนา ดังนั้นในการออกแบบชุมชนสถาปัตยกรรมจำเป็นที่จะต้องมีการคำนึงถึงสังคมวัฒนธรรมเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว -- วิจัยen_US
dc.subjectการวางผังเมือง -- ไทย -- ชุมชนบ้านหมี่ (ลพบุรี) -- วิจัยen_US
dc.subjectผังเมือง -- การออกแบบ -- วิจัยen_US
dc.subjectการฟื้นฟูเมือง -- ไทย -- ชุมชนบ้านหมี่ (ลพบุรี) -- วิจัยen_US
dc.subjectการพัฒนาชุมชน -- แง่สิ่งแวดล้อม -- วิจัยen_US
dc.subjectการพัฒนาอย่างยั่งยืน -- วิจัยen_US
dc.subjectเมือง -- การตกแต่งให้สวยงามen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา ชุมชนบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรีen_US
dc.title.alternativeThe community sustainable development case study : Baan Mi, Lopburien_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThis project is aimed to study a development of Baan Mi area in physical, economic and social aspect from yesterdays, today to tomorrow. By gathering both primary and secondary data In addition, this study is also aimed to study and analyze the growth trend of the population in such area in order to layout plan to sufficiently accommodate the need in infrastructure, public utilities and public services. Homes in Baan Mi Village, Lopburi are mentioned as an architectural expression of the identity of living in harmony with nature for centuries. Principles of architecture still remain to be seen in the village. Some were just finishing the details. However, vernacular architecture is shaped by context such as natural resource in the area, geographic condition. Architectural tectonic, carpentry, remains in rural areas continue to apply. Participation of villager becomes increasing important to community development in Thailand. According to the National Economic and Social Development Plan, the impact on community-development becomes a primary concern. Humans themselves as well as the existence of communities are primary reasons for sustainable development. Sustaining the community has therefore become an essential element of development and usually depends on the economic, social and cultural benefits to the community and its environment. A holistic approach to sustainability requires a new approach in architectural design, planning and development. Thus, in designing communities, architecture has to take into account social, cultural, economic and environmental aspects.en_US
Appears in Collections:ARC-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ROSALINE SHAW.pdf5.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.