Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2450
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อานุภาพ คำมา | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-18T03:10:25Z | - |
dc.date.available | 2024-07-18T03:10:25Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2450 | - |
dc.description.abstract | บทประพันธ์ ลาเวนเดอร์ แห่ งความสงบ ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ เผยแพร่ วัฒนธรรมดนตรีของประเทศไทยให้ออกสู่สากล บทประพันธ์นี้ได้นำออกแสดงทั้งหมด 3 ครั้ง 1) คอนเสิร์ตซีนฟอร์มเมมโมรี ณ มหาวิทยาลัยรังสิต 2) ไทยแลนด์อินเตอร์เนชั่นแนลแจ๊สคอนเฟอร์เร้นซ์2017 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล และ3) ในเทศกาลดนตรีบิ๊กแบนด์แมดเนส 2017 ประเทศไต้หวัน บรรเลงโดยวงแจ๊สออร์เคสตราแห่งมหาวิทยาลัยรังสิตบทประพันธ์บทนี้ เป็นการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมดนตรีแจ๊สและดนตรีไทย โดยการใช้บันไดเสียงเพนตาโทนิกเพื่อเลียนแบบทำนองสำเนียงไทย รวมถึงนำเอากลองแขกเข้ามาร่วมบรรเลงในบทประพันธ์เพื่อสื่อถึงความเป็นไทยผ่านทางผลงานประพันธ์บทนี้ สังคีตลักษณ์โซนาตาถูกใช้เป็นต้นแบบเพื่อกำหนดโครงสร้างโดยรวม อัตราจังหวะถูกกำหนดให้อย่ใูนแบบ 3/4, 4/4 และ 6/4 ความแตกต่างของกลุ่มเสียงระหว่างบันไดเสียงเพนตาโทนิกและเนเชอรัลไมเนอร์ถูกนำมาใช้เป็นแนวคิดสำคัญในการประพันธ์แนวทำนอง เสียงประสานเกิดจากการนำบันไดเสียงจากทำนองหลักมาเป็นตัวกำหนดชนิดของเสียงประสาน ทำนองหลัก A อยู่ในบันไดเสียงเนเชอรัลไมเนอร์ ผู้ประพันธ์จึงเลือกใช้เสียงประสานส่วนใหญ่เป็นประเภทไมเนอร์ ทำนองหลัก B มาจากบันไดเสียงเมเจอร์เพนตาโทนิก จึงใช้เสียงประสานประเภทเมเจอร์ ทั้งนี้ผู้บทประพันธ์ให้ความสำคัญกับการเรียบเรียงเสียงวงดนตรีโดยคำนึงถึงบทบาทของเครื่องดนตรีต่างๆ รวมถึงกลุ่มเครื่องดนตรีแต่ละกลุ่มภายในวงแจ๊สวงใหญ่เป็นสำคัญ อีกทั้งเบส กีตาร์ และอัลโตแซกโซโฟนทำหน้าที่ด้นสดในบทประพันธ์ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การประพันธ์เพลง | en_US |
dc.subject | เพลงร่วมสมัย | en_US |
dc.subject | ดนตรีแจ๊ซซ์ | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย ลาเวนเดอร์แห่งความสงบ | en_US |
dc.title.alternative | Peaceful lavender | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The composition Peaceful Lavender aims to represent Thailand’s musical culture to international. The first performance of Peaceful Lavender was performed at Rangsit University, the second was shown at Thailand International Jazz Conference 2017 at College of Music, Mahidol University (Salaya) and the third was shown at Big Band Madness 2017 at Taipei, Taiwan. Which all performance was performed by Rangsit University Jazz Orchestra. Peaceful Lavender is an original contemporary composition for jazz orchestra that combines jazz and Thai’s traditional music. The fundamental basis of music and unique Thai’s refrain are raw materials for the composition by using the pentatonic scales and double-headed drum. Sonata form is used for the pattern overall structure of this composition. Time signature 3/4 4/4 and 6/4 were used in the composition. The different of texture between pentatonic and natural minor scales had been used as an idea to create a melody. The harmony is derived from the sound of the main melody, which determines the kind of the harmony. The nature minor scale is used for A theme, which almost harmony of that area also use the minor. While the major pentatonic is used for B theme, which almost harmony also use the major. The composer emphasizes on, an orchestration, role of each instrument including each group of instruments within the jazz orchestra. Also the improvisation parts that have been play by bass, guitar and saxophone. | en_US |
Appears in Collections: | Ms-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ARNUPAP KAMMAR.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.