Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2505
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กมะริยะ ขันราม | - |
dc.contributor.author | ชนะ ปัญญานนท์ | - |
dc.contributor.author | ภาพร คหินทพงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-31T05:55:37Z | - |
dc.date.available | 2024-07-31T05:55:37Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2505 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน์ในรายวิชา CHM 132 : ปฏิบัติการเคมีทั่วไปเรื่องก๊าซ 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเปรียบเทียบคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ ของนักศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียนผ่านการใช้สื่อวีดิทัศน์ในรายวิชา CHM 132 : ปฏิบัติการเคมีทั่วไปเรื่องก๊าซ กับการสอนปกติ และ 3) เพื่อสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาภายหลังจากที่ได้เรียนรู้ผ่านสื่อการสอนวิดิทัศน์ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา เป็นนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา CHM132: ปฏิบัติการเคมีทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 60 คน ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง โดยแบ่งกลุ่มเป็นกลุ่มทดลองที่สอนโดยการใช้สื่อวีดิทัศน์ จำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุมที่สอนโดยวิธีปกติ จำนวน30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ สื่อวีดิทัศน์เรื่องก๊าซ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบปรนัย 5 ตัวเลือก จำนวน10 ข้อ และแบบวัดความพึงพอใจ ของนักศึกษาที่มีต่อสื่อวีดิทัศน์ แบบประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าประสิทธิภาพ (E1:E2) ค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I) และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ (Relative Gain Score) ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน์เรื่องก๊าซ เท่ากับ 91.00/96.33 2) ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.91 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ มีคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเรียน เท่ากับ 5.93 และ 9.63 (คะแนนเต็ม 10) ตามลำดับ มีคะแนน พัฒนาการเฉลี่ยเท่ากับ 3.70 และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ร้อยละ 90.91 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยวิธีการสอนปกติ มีคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเรียนเท่ากับ 5.63 และ 9.27 ตามลำดับ มีคะแนนพัฒนาการเฉลี่ยเท่ากับ 3.63 และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ร้อยละ 83.30 เมื่อเปรียบเทียบระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า นักศึกษาที่เรียนโดยการใช้สื่อวีดิทัศน์ มีคะแนน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์สูงกว่านักศึกษาที่เรียนโดยใช้วิธีการสอนปกติ และ 4) ความพึงพอใจของนักศึกษามีต่อสื่อวีดิทัศน์เรื่องก๊าซอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.19 | en_US |
dc.description.sponsorship | ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | เคมี -- การศึกษาและการสอน -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | เคมี -- คู่มือปฏิบัติการ | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลของการใช้สื่อวีดิทัศน์ในรายวิชา CHM132 : ปฏิบัติการเคมีทั่วไป เรื่องก๊าซ | en_US |
dc.title.alternative | Effectiveness of video media in CHM 132 : general chemistry laboratory on gas | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this research were 1) to find the effectiveness of the video media in the course CHM 132: General Chemistry laboratory under the topic of Gas 2) to study the learning achievement and compare the relative score gains from the pretest and posttest between the group exposed to the developed learning media and the group traditionally learning from a lab teacher and 3) to find the student’s satisfaction after the use of video media. The sample in this study were the students from the School of Pharmacy that registered in the course CHM 132 during semester 1 of academic year 2015. The sample group of 60 students was purposively selected and divided into 2 smaller groups. The first 30 students were taught through the developed media and the other 30 were taught by a lab teacher. The research instruments were the video media on the topic of Gas, the 5-multiple choice exercises with 10 questions, and the 5-point student satisfaction questionnaire on the media. The statistic data used in the experiment were percentage (%), mean ("X" ̅), standard deviation (S.D.), efficiency (E1 : E2), effectiveness index (E.I) and relative gain scores. It was found from the research that 1) the effectiveness of the media was 91.00/96.32 2) the effectiveness index was 0.91 3) the learning outcomes by the use of media from the pretest and posttest score were 5.93 and 9.63 (out of 10) respectively, with the average gain scores of 3.70 and the relative gain scores of 90.91%. The learning outcomes of the group taught by a lab teacher from the pretest and posttest scores were 5.63 and 9.27 respectively, with the average gain scores of 3.63 and the relative gain scores of 83.30 %. The comparison of the learning outcomes showed that the use of video media yielded higher posttest scores than those of pretest scores. The relative gain scores from the group exposed to the media were also higher than those from the group interacting with regular teaching and 4) the student’s satisfaction scores on the video media were in the highest level with the average of 4.19. | en_US |
Appears in Collections: | Sci-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KAMARIYA KHANRAM.pdf | 10.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.